Page 41 - คู่มือกรทำวิจัยอย่างง่ายของครู กศน.
P. 41
การสร้างกรอบความคิดการวิจัย (สมมติฐานการวิจัย) เป็นการรวบรวมแนวคิดและทฤษฎีที่จะใช้
ในการวิจัยอย่างง่ายของครูผู้วิจัยโดยไม่รู้ตัว การเขียนกรอบความคิดการวิจัย โดยน าข้อ 2.1, 2.2 และ 2.3
มาเรียงร้อยถ้อยค าให้เป็นเรื่องราว ดังนี้
ตัวอย่างการเขียนกรอบความคิดการวิจัย ปัญหาผู้เรียนเขียนสะกดค าผิด
กรอบความคิดการวิจัย
จากปัญหาของผู้เรียนที่มักจะเขียนสะกดค าผิด (ยกตัวอย่างค าที่เขียนสะกด
ค าผิดพอสังเขป) ครูผู้วิจัยได้ใช้แนวคิดและทฤษฎี เพื่อน ามาเป็นแนวทางการแก้ปัญหา
การเขียนสะกดค าของผู้เรียน โดยใช้การสอนเสริม และใช้แบบฝึกหัดเสริมทักษะ
การเรียนภาษาไทย ที่ผู้เรียนท ากิจกรรมการเรียนรู้ภายใต้การแนะน าช่วยเหลือ
จากครูผู้วิจัยอย่างใกล้ชิด โดยการทดลองปฏิบัติ ฝึกการใช้ทฤษฎี ผ่านการสังเกต
การฝึกปฏิบัติภายใต้สภาพการควบคุมที่วางไว้ ใช้กฎแห่งการฝึกหัดของธอร์นไดค์
ที่กระท าบ่อย ๆ ด้วยความเข้าใจ จะท าให้การเรียนรู้นั้นคงทนถาวร ถ้าไม่กระท าซ้ า
บ่อย ๆ การเรียนรู้นั้นจะไม่คงทนถาวรและในที่สุด อาจลืมได้ กฎแห่งการฝึกหัด
ถูกใช้เป็นพันธะ หรือตัวเชื่อมสิ่งเร้า คือ แบบฝึกหัดเสริมทักษะและครูผู้วิจัย
จะตอบสนองที่เข้มแข็งขึ้นเมื่อได้ท าบ่อย ๆ ครูผู้วิจัยได้สร้างแบบฝึกหัดเสริมทักษะ
การเขียนสะกดค าภาษาไทย ประกอบกับการควบคุมกระบวนการจัดการเรียนรู้
จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คือสามารถเขียนสะกดค าได้ถูกต้อง
คู่มือการท าวิจัยอย่างง่ายของครู กศน.
27