Page 39 - คู่มือกรทำวิจัยอย่างง่ายของครู กศน.
P. 39

จากตัวอย่างของปัญหาที่เกิดขึ้น ครูผู้สอนอาจตั้งค าถามการวิจัยอย่างง่าย ไว้ในใจก่อนที่จะลงมือ
               วิเคราะห์ หรือเลือกปัญหาเพื่อท าวิจัยอย่างง่าย รวมถึงการสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล เช่น จะท าอย่างไรให้ผู้เรียน

               สามารถออกเสียง คว ได้ชัดเจนขึ้น หรือจะท าอย่างให้ผู้เรียนมาเรียนเร็วขึ้น มีวิธีใดสามารถแก้ปัญหาผู้เรียน

               ที่ออกเสียง คว ได้ดีขึ้น หรือมีวิธีใดที่สามารถแก้ปัญหาผู้เรียนมาสาย และจะท าอย่างไรให้ผู้เรียนหรือสมาชิก
               ในบ้านช่วยเหลือผู้เรียนออกเสียง คว ได้ชัดขึ้น หรือจะท าอย่างไรให้ผู้เรียน หรือสมาชิกในบ้านช่วยเหลือผู้เรียน

               ไม่ให้มาสายอย่างนี้ เป็นต้น

                           หลังจากที่ครูผู้สอนสามารถวิเคราะห์ปัญหา และหาสาเหตุแท้ได้แล้ว ครูผู้สอนสามารถพิจารณา

               เลือกเพียง 1 สาเหตุแท้ ที่คิดว่าจะสามารถแก้ไขเองได้ จากนั้นให้น าสาเหตุแท้นั้น ๆ ไปสังเคราะห์โดยการศึกษา
               หรือพิจารณาข้อมูลพื้นฐานทั่วไปของผู้เรียน หรือถามผู้เรียนเพื่อให้ได้ ต้นตอแท้ของสาเหตุแท้นั้น ๆ ทั้งนี้

               ปัญหาและสาเหตุที่จะน าไปท าวิจัยอย่างง่ายได้ ครูผู้สอนต้องค านึงถึงความสนใจของตัวเองจริง ๆ รวมถึง

               องค์ประกอบด้านอื่น ๆ เช่น ความรู้ความสามารถของตนเอง ระยะเวลาและงบประมาณด้วย หากเห็นว่า

               มีอุปสรรคหลายประการ ก็ไม่ควรจะเลือกมาเป็นหัวข้อการวิจัยอย่างง่ายเช่นกัน

               การสร้างกรอบความคิดการวิจัยอย่างง่าย (สมมติฐานการวิจัย)


                           กรอบความคิดการวิจัย  หมายถึง  กรอบของการวิจัยในด้านเนื้อหาสาระ  ซึ่งประกอบด้วยตัวแปร

               และการระบุความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร  ในการสร้างกรอบความคิดการวิจัย  ผู้วิจัยจะต้องมีกรอบพื้นฐาน

               ทางทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่ศึกษาและมโนภาพ (concept) ในเรื่องนั้น แล้วน ามาประมวลเป็นกรอบใน
               การก าหนดตัวแปรและรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ  ในลักษณะของกรอบความคิดการวิจัยและ

               พัฒนาเป็นแบบจ าลองในการวิจัยต่อไป

                           การท าวิจัยอย่างง่าย นอกจากจะสามารถก าหนดปัญหาได้แล้ว ครูผู้ท าวิจัยจะต้องสามารถวิเคราะห์

               และสังเคราะห์ความคิดหรือปัญหานั้น ๆ มาก าหนดเป็นกรอบความคิด หรือตั้งเป็นสมมติฐานในการวิจัย
               อย่างง่ายได้ด้วย ซึ่งการวิจัยอย่างง่ายส่วนใหญ่จะใช้แนวคิดหรือทฤษฎีที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อนมากนัก

                           บันทึกหลังการสอน นับเป็นแหล่งที่มาของปัญหาในการวิจัยอย่างง่าย ที่ส าคัญมากแหล่งหนึ่ง

               เนื่องจากครูผู้สอนจะพบเห็นปัญหาขณะจัดการเรียนรู้และบันทึกไว้ทุกครั้ง หลังเสร็จสิ้นการสอน เช่น ครูผู้สอน

               เห็นว่าผู้เรียนบางคนเรียนรู้ได้ช้า เป็นผลมาจากพื้นฐานการเรียนรู้แตกต่างกัน  ครูผู้สอนเห็นได้จากการสังเกต
               พฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนขณะเรียน สังเกตชิ้นงานหรือการบ้าน (กรต.ของผู้เรียน) ว่ามีข้อบกพร่อง

               ในส่วนใด เช่น การเขียนสะกดค าผิดบ่อย ๆ ของผู้เรียนหลายคนในกลุ่มผู้เรียน ปัญหาการสรุปความคิดรวบยอด

               ของเนื้อหาในบทเรียนของผู้เรียน ที่ยังไม่ตรงตามเนื้อหา และจุดประสงค์การเรียนรู้ของสาระวิชา การเรียนรู้ช้า
               ไม่ทันเพื่อน ผู้เรียนขาดปฏิสัมพันธ์กับครูผู้สอนและเพื่อนในกลุ่ม ฯลฯ ถ้าครูผู้สอนเลือกปัญหาได้เหมาะสมก็จะเอื้อ

               ต่อความส าเร็จของการวิจัยอย่างง่าย ดังนั้น การก าหนดปัญหาและการสร้างกรอบความคิดการวิจัย ควรบันทึก

               ไว้ที่เดียวกันในบันทึกหลังสอนของครูผู้สอนเพื่อกันลืม ในที่นี้จะขอยกตัวอย่างการสร้างกรอบความคิดการวิจัย
               จากปัญหาที่ครูผู้สอนบันทึกไว้ในบันทึกหลังการสอน ดังนี้


                                                คู่มือการท าวิจัยอย่างง่ายของครู กศน.
                                                             25
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44