Page 40 - คู่มือกรทำวิจัยอย่างง่ายของครู กศน.
P. 40
ตัวอย่างที่ 1
ครูผู้สอนได้บันทึกหลังการสอนพบว่า ผู้เรียนจ านวนหนึ่งมักเขียนสะกดค าผิดบ่อย ๆ โดยพบปัญหานี้
จากชิ้นงานที่มอบหมายให้ผู้เรียนท า หากจะท าวิจัยในเรื่องนี้ ครูผู้วิจัยควรบันทึกค าถามการวิจัยต่อจากที่บันทึก
หลังการสอนว่า “ท าอย่างไรผู้เรียนจึงเขียนค าสะกดได้ถูกต้อง” “มีวิธีการสอนอย่างไรที่ท าให้ผู้เรียนเขียน
สะกดค าได้ถูกต้อง” จากนั้น ครูผู้วิจัยน าค าถามการวิจัยมาสร้างกรอบความคิด (สมมติฐานการวิจัย) โดยบันทึก
ต่อจากค าถามการวิจัยว่า การแก้ปัญหาการเขียนสะกดค าผิดของผู้เรียนต้องแก้ด้วยการสอนเสริม และการสอน
เสริมนั้น ควรมีวิธีการอย่างไร มีหลักการสอน (ทฤษฎีการสอน) อะไรบ้างเข้ามาเกี่ยวข้อง จากปัญหานี้ ผู้เรียนมี
ความเหมาะสมกับวิธีการสอนแบบใด เช่น การสอนแบบอภิปราย การสอนแบบบรรยาย การสอนแบบติวเตอร์
การสอนแบบปฏิบัติการ เป็นต้น ครูผู้วิจัยต้องศึกษารูปแบบการสอนแบบต่าง ๆ และเลือกรูปแบบการสอน
ที่เหมาะสมกับปัญหาของผู้เรียน จากนั้นจึงก าหนดนวัตกรรม (สื่อการสอน) ที่จะน ามาบรรจุค าต่าง ๆ ที่ผู้เรียน
มักเขียนสะกดค าผิด แล้วย้อนกลับไปศึกษาหลักการสอนภาษาไทย ว่าการสอนภาษาไทยมีวิธีการสอนอย่างไร
(การน าวิธีการสอนของเด็ก ป.1 มาสอนผู้ใหญ่ก็ไม่ผิด หากการสอนนั้นเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน
ดีขึ้น)
จากตัวอย่างที่ 1 ครูผู้วิจัยได้เรียนรู้การก าหนดปัญหา และการสร้างกรอบความคิดการวิจัย
อย่างง่ายตามกระบวนการ ดังนี้
1. การก าหนดปัญหาการวิจัย
ปัญหาผู้เรียนมักจะเขียนค าและสะกดค าผิด
2. สร้างกรอบความคิดการวิจัย (สมมติฐานการวิจัย) โดยใช้แนวคิด/ทฤษฎี ดังนี้
2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการสอนเสริมแบบปฏิบัติการ
2.2 ใช้ทฤษฎีการเรียนรู้แบบต่อเนื่องของธอร์นไดค์
2.3 แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างแบบเรียนหรือแบบฝึกหัดเสริมทักษะ
คู่มือการท าวิจัยอย่างง่ายของครู กศน.
26