Page 45 - คู่มือกรทำวิจัยอย่างง่ายของครู กศน.
P. 45

การเขียนวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมายของการวิจัย


                          วัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมายของการวิจัย เป็นส่วนที่บอกให้รู้ว่าผู้วิจัยต้องการศึกษาอะไร

               อาจเขียนโดยไม่แยกเป็นรายข้อหรือแยกเป็นรายข้อก็ได้ แต่การก าหนดวัตถุประสงค์ควรก าหนดให้สอดคล้อง
               กับปัญหา ค าถามการวิจัย และชื่อเรื่องหรือหัวข้อวิจัย เช่น


                                ชื่อเรื่องวิจัย                               วัตถุประสงค์


                  การพัฒนาทักษะการเขียนสะกดค าของนักศึกษา        เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนสะกดค าของนักศึกษา
                  ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ศูนย์การเรียนชุมชน       มัธยมศึกษาตอนต้น

                  ต าบล...โดยใช้แบบฝึกหัดเสริมทักษะ



                  ผลการใช้กระบวนการเรียนรู้แบบอภิปรายที่มี       เพื่อศึกษาการใช้รูปแบบการสอนแบบอภิปราย
                  ต่อความสามารถในการสรุปความคิดรวบยอด            ที่ส่งผลต่อการสร้างข้อสรุปความคิดรวบยอด

                  รายวิชาของนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น        บทเรียนรายวิชา ของนักศึกษาระดับ

                  ศูนย์การเรียนชุมชนต าบล...                     มัธยมศึกษาตอนต้น



                          การศึกษาวิจัย ต้องศึกษาให้ครบตามวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมายของการวิจัยที่ผู้วิจัยก าหนด
               เช่น ครูผู้วิจัยก าหนดวัตถุประสงค์ หรือจุดมุ่งหมายที่ศึกษาไว้ 2 หรือ 3 ข้อ ก็ต้องศึกษาเพื่อตอบวัตถุประสงค์

               ให้ครบถ้วนทุกข้อ (การวิจัยอย่างง่ายควรศึกษาเพียงข้อเดียว)


               การก าหนดขอบเขตของการวิจัย


                          การวิจัยทุกเรื่องมีขอบเขตของการศึกษา การระบุขอบเขตของการวิจัยจะช่วยให้เข้าใจงานวิจัยนั้น

               ชัดเจนขึ้น การระบุขอบเขตของการวิจัยมักพิจารณาในด้านพื้นที่ ประชากร  กลุ่มตัวอย่าง และตัวแปรหรือ

               ประเด็นที่ศึกษา แต่ในกรณีการท าวิจัยอย่างง่าย กลุ่มเป้าหมาย คือ กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหา

                          1.  ขอบเขตการวิจัย  โดยปกติแล้วหมายถึง พื้นที่ที่จะด าเนินการวิจัย ซึ่งก็คือพื้นที่ในหรือ
               นอกห้องเรียน ตามแหล่งข้อมูล ในกรณีที่ต้องมีการสังเกตหรือสัมภาษณ์ผู้ปกครอง พื้นที่การวิจัย อาจต้องขยาย

               ไปที่บ้านหรือชุมชน สิ่งแวดล้อมของผู้เรียนด้วย โดยมีวัตถุประสงค์หลัก คือ เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียน

                          2.  กลุ่มเป้าหมาย (ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง)

                            1)  ในการวิจัยแบบเป็นทางการ ประชากร หมายถึง กลุ่มเป้าหมายกลุ่มหนึ่ง หรือหลายกลุ่ม

               ที่จะเป็นแหล่งข้อมูลที่ครูผู้วิจัยต้องน ามาศึกษา เพื่อให้ได้ค าตอบที่ตอบปัญหาของการวิจัยได้ ดังนั้น ในการวิจัย
               อย่างง่าย ประชากร ก็จะหมายถึง กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาหรือมีความผิดปกติทั้งหมด ที่ครูผู้วิจัยต้องการศึกษา

               นั่นเอง เช่น  จ านวนนักศึกษาที่ต้องลงเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ทั้งหมด 40 คน หรือนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน

               ในภาคเรียนที่ 2/2558 ของ กศน. ต าบลหนึ่ง จ านวน 60 คน

                                                คู่มือการท าวิจัยอย่างง่ายของครู กศน.
                                                             31
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50