Page 41 - 09_กฎหมายอนทเกยวของกบการปฏบตหนาท_Neat
P. 41

๓๔




                                   (๔) สิทธิไดรับการแจงจากเจาหนาที่ในกรณีคําสั่งมีผลกระทบตอตน
                                   (๕) สิทธิที่จะโตแยงแสดงพยานหลักฐาน

                                   (๖)  สิทธิที่จะไดตรวจเอกสารของเจาหนาที่
                                   (๗) สิทธิไดรับทราบเหตุผลของคําสั่ง

                                   (๘) สิทธิไดรับแจงวิธีการอุทธรณหรือโตแยงและสิทธิในการอุทธรณคําสั่ง
                                   (๙) สิทธิในการขอใหพิจารณาใหม



                          õ. คําÊÑè§·Ò§»¡¤Ãͧ
                             õ.ñ ÃٻẺ¢Í§คําÊÑè§
                                   คําสั่งทางปกครองอาจทําเปนหนังสือหรือวาจาหรือโดยการสื่อความหมาย

              ในรูปแบบอื่นก็ได แตตองมีขอความหรือความหมายที่ชัดเจนเพียงพอที่จะเขาใจได
                                   “ÁÒμÃÒ óô คําสั่งทางปกครองอาจทําเปนหนังสือหรือวาจาหรือโดยการสื่อ
              ความหมายในรูปแบบอื่นก็ได แตตองมีขอความหรือความหมายที่ชัดเจนเพียงพอทีี่จะเขาใจได”

                                   โดยในสวนคําสั่งทางปกครอง เปนคําสั่งดวยวาจานั้น ถาผูรับคําสั่งนั้นรองขอ
              โดยมีเหตุอันสมควรภายในเจ็ดวันนับแตวันที่มีคําสั่งดังกลาว เจาหนาที่ผูออกคําสั่งนั้นตองยืนยันคําสั่ง
              นั้นเปนหนังสือ

                                   “ÁÒμÃÒ óõ ในกรณีที่คําสั่งทางปกครองเปนคําสั่งดวยวาจา ถาผูรับคําสั่งนั้น
              รองขอและการรองขอไดกระทําโดยมีเหตุอันสมควรภายในเจ็ดวันนับแตวันที่มีคําสั่งดังกลาว เจาหนาที่
              ผูออกคําสั่งตองยืนยันคําสั่งนั้นเปนหนังสือ”

                           õ.ò  ÊÒÃÐสํา¤ÑÞ«Öè§μŒÍ§ÁÕã¹คําÊÑè§
                                   มาตรา ๓๖  แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
              กําหนดใหคําสั่งทางปกครองที่ทําเปนหนังสืออยางนอยตองระบุ วัน เดือนและปที่ทําคําสั่ง ชื่อและ

              ตําแหนงของเจาหนาที่ผูทําคําสั่ง พรอมทั้งมีลายมือชื่อของเจาหนาที่ผูทําคําสั่งนั้น
                             õ.ó ˹ŒÒ·Õè㹡ÒÃᨌ§àËμØ¼Å㹡ÒÃÍÍ¡คําÊÑè§
                                   เพื่อประโยชนในการโตแยงสิทธิของคูกรณี พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติฯ จึงมีบทบัญญัติ

              รองรับสิทธิไดรับทราบเหตุผลของคําสั่งหรือการใชดุลพินิจของฝายปกครอง มาตรา ๓๗ ไดบัญญัติ
              ใหเจาหนาที่ทางปกครองมีหนาที่โดยทั่วไปที่จะตองใหเหตุผลในการจัดทําคําสั่ง กลาวคือ ในการทํา
              คําสั่งทางปกครองที่ทําเปนหนังสือและการยืนยันคําสั่งทางปกครองเปนหนังสือ เจาหนาที่ตองจัดใหมี

              เหตุผลไวดวย และเหตุผลนั้นอยางนอยตองประกอบดวยขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญ ขอกฎหมาย
              ที่อางอิง และขอพิจารณาและขอสนับสนุนในการใชดุลพินิจ
                                   “ÁÒμÃÒ ó÷  คําสั่งทางปกครองที่ทําเปนหนังสือและการยืนยันคําสั่งทาง

              ปกครองเปนหนังสือตองจัดใหมีเหตุผลไวดวย และเหตุผลนั้นอยางนอยตองประกอบดวย
                                   (๑)  ขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญ
                                   (๒) ขอกฎหมายที่อางอิง
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46