Page 42 - 09_กฎหมายอนทเกยวของกบการปฏบตหนาท_Neat
P. 42

๓๕




                                      (๓) ขอพิจารณาและขอสนับสนุนในการใชดุลพินิจ
                                      นายกรัฐมนตรีหรือผูซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมายอาจประกาศในราชกิจจา

                 นุเบกษากําหนดใหคําสั่งทางปกครองกรณีหนึ่งกรณีใดตองระบุเหตุผลไวในคําสั่งนั้นเองหรือในเอกสาร
                 แนบทายคําสั่งนั้นก็ได
                                      บทบัญญัติตามวรรคหนึ่งไมใชบังคับกับกรณีดังตอไปนี้
                                      (๑)  เปนกรณีที่มีผลตรงตามคําขอและไมกระทบสิทธิและหนาที่ของบุคคลอื่น

                                      (๒) เหตุผลนั้นเปนที่รูกันอยูแลวโดยไมจําตองระบุอีก
                                      (๓) เปนกรณีที่ตองรักษาไวเปนความลับตามมาตรา ๓๒

                                      (๔) เปนการออกคําสั่งทางปกครองดวยวาจาหรือเปนกรณีเรงดวนแตตองให
                 เหตุผลเปนลายลักษณอักษรในเวลาอันควร หากผูอยูในบังคับของคําสั่งนั้นรองขอ”


                             ö. ¡ÒÃÍØ·¸Ã³คําÊÑè§·Ò§»¡¤Ãͧ

                                 การอุทธรณคําสั่งทางปกครองเปนกระบวนการทบทวนคําสั่งทางปกครอง ซึ่งเปนการ
                 ควบคุมภายในฝายปกครองแบบแกไขวิธีหนึ่ง เพื่อใหเจาหนาที่ผูทําคําสั่งทางปกครองและผูมีอํานาจ

                 พิจารณาอุทธรณไดพิจารณาแกไขเปลี่ยนแปลงคําสั่งทางปกครองใหถูกตอง และเพื่อแกไขเยียวยา
                 ความเดือดรอนเสียหายของคูกรณี ซึ่งถูกกระทบกระเทือนจากผลของคําสั่งทางปกครอง กอนที่จะนํา
                 คดีขึ้นวินิจฉัยอยางองคกรตุลาการอีกครั้ง การอุทธรณคําสั่งทางปกครองยังเปนเงื่อนไขการฟองคดีตอ
                 ศาลปกครองอีกดวย ซึ่งหากคําสั่งทางปกครองดังกลาวเปนคําสั่งที่อาจอุทธรณภายในฝายปกครองได

                 แตคูกรณีไมไดอุทธรณหรืออุทธรณโดยไมชอบดวยกฎหมายผูนั้นยอมไมมีสิทธิ์ฟองคดีตอศาลปกครอง
                 ตามมาตรา ๔๒ วรรคสอง แหง พ.ร.บ.จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.๒๕๔๒

                                 ดังไดกลาวมาแลววาในกรณีที่กฎหมายเฉพาะกําหนดขั้นตอนและระยะเวลาอุทธรณ
                 คําสั่งทางปกครองไวเชนใดแลว เจาหนาที่จะตองนําหลักเกณฑเกี่ยวกับขั้นตอนและระยะเวลาอุทธรณ
                 ที่กําหนดไวในกฎหมายเฉพาะมาบังคับใชเสมอ ตาม มาตรา ๓ วรรคสอง แมขั้นตอนและระยะเวลา
                 อุทธรณที่กําหนดในกฎหมายเฉพาะจะมีหลักเกณฑที่ประกันความเปนธรรมหรือมีมาตรฐานในการ

                 ปฏิบัติราชการตํ่ากวาหลักเกณฑที่กําหนดไวใน พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติฯ ก็ตาม แตในกรณีที่กฎหมายเฉพาะ
                 ไมไดกําหนดขั้นตอนและระยะเวลาการอุทธรณไวเลย เจาหนาที่จะตองนําหลักเกณฑเกี่ยวกับขั้นตอน

                 และระยะเวลาอุทธรณที่กําหนดใน พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติมาใชบังคับแกกรณีตามมาตรา ๓ วรรคหนึ่ง
                              ö.ñ  ÃÐÂÐàÇÅÒÍØ·¸Ã³คําÊÑè§·Ò§»¡¤Ãͧ
                                      คูกรณีตองยื่นอุทธรณคําสั่งทางปกครองตอเจาหนาที่ผูทําคําสั่งทางปกครอง

                 ภายใน ๑๕ วัน นับแตวันที่รับแจงคําสั่งดังกลาวตามมาตรา ๔๔ วรรคหนึ่ง
                                      “ÁÒμÃÒ ôô ภายใตบังคับมาตรา ๔๘ ในกรณีที่คําสั่งทางปกครองใดไมไดออก
                 โดยรัฐมนตรี และไมมีกฎหมายกําหนดขั้นตอนอุทธรณภายในฝายปกครองไวเปนการเฉพาะ ใหคูกรณี

                 อุทธรณคําสั่งทางปกครองนั้นโดยยื่นตอเจาหนาที่ผูทําคําสั่งทางปกครองภายในสิบหาวันนับแตวันที่ตน
                 ไดรับแจงคําสั่งดังกลาว
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47