Page 38 - 09_กฎหมายอนทเกยวของกบการปฏบตหนาท_Neat
P. 38

๓๑




                                      ñ) ¾Ô¨ÒóÒã¹á§‹àÃ×èͧ·ÕèÁÕอํา¹Ò¨ คําสั่งทางปกครองตองออกโดยเจาหนาที่
                 ผูมีอํานาจในเรื่องนั้น ในเบื้องตนจึงตองพิจารณาเสียกอนวาเรื่องที่จะออกคําสั่งทางปกครองนั้น

                 เปนอํานาจหนาที่ของฝายปกครององคกรใด เมื่อทราบวาเรืื่องนั้นเปนอํานาจหนาที่ของฝายปกครอง
                 องคกรใดแลว ยอมตองพิจารณาตอไปวาเรื่องนั้นเปนอํานาจหนาที่ของเจาหนาที่ตําแหนงใดใน

                 ฝายปกครององคกรนั้น เชน การถอนสัญชาติไทยของบุคคลเปนอํานาจหนาที่ของกระทรวงมหาดไทย
                 ตาม พ.ร.บ.สัญชาติ พ.ศ. ๒๕๐๘ กําหนดใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยเปนเจาหนาที่ผูมีอํานาจ

                 ในการถอนสัญชาติไทยของบุคคล
                                      ò) ¾Ô¨ÒóÒã¹á§‹¾×é¹·Õè·ÕèÁÕอํา¹Ò¨ นอกจากเจาหนาที่จะออกคําสั่งทาง

                 ปกครองในเรื่องที่ตนมีอํานาจแลว  เจาหนาที่จะตองออกคําสั่งนั้นภายในพื้นที่ที่ตนมีอํานาจดวย เชน
                 ผูบัญชาการตํารวจนครบาลมีอํานาจในการออกใบอนุญาตตั้งสถานบริการ ตาม พ.ร.บ.สถานบริการ

                 พ.ศ.๒๕๐๙ เฉพาะในเขตกรุงเทพฯ แตไมมีอํานาจในการออกใบอนุญาตตั้งสถานบริการในเขตจังหวัดอื่น
                 เพราะการออกใบอนุญาตตั้งสถานบริการในเขตจังหวัดอื่นเปนอํานาจของผูวาราชการจังหวัดนั้น ๆ

                                      ó) ¾Ô¨ÒóÒã¹á§‹àÇÅÒ·ÕèÁÕอํา¹Ò¨  เมื่อทราบวาเจาหนาที่ตําแหนงใดเปน

                 ผูมีอํานาจออกคําสั่งทางปกครองในเรื่องและพื้นที่นั้น ๆ แลว ยอมตองพิจารณาตอไปวาเจาหนาที่
                 คนใดเปนผูรับการแตงตั้งใหเขาสวนตําแหนงที่มีอํานาจออกคําสั่งทางปกครองนั้น โดยเจาหนาที่
                 ยอมมีอํานาจออกคําสั่งทางปกครองไดเฉพาะในเวลาที่ตนดํารงตําแหนงดังกลาวเทานั้น คําสั่ง

                 ทางปกครองที่เจาหนาที่คนนั้นออกกอนที่ควรจะรับการแตงตั้งใหดํารงตําแหนงหรือภายหลังที่ตน

                 พนจากตําแหนงไปแลวยอมไมชอบดวยกฎหมาย
                                      ซึ่งโดยหลักตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙

                 คําสั่งทางปกครองจะตองกระทําโดยเจาหนาที่ซึ่งมีอํานาจหนาที่ในเรื่องนั้น และเจาหนาที่จะตองไมมีสวน
                 ไดเสียในเรื่องที่พิจารณา และมีความเปนกลาง โดยมาตรา ๑๓ แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ

                 ทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ไดวางหลักวาเจาหนาที่ดังตอไปนี้จะทําการพิจารณาทางปกครองไมได คือ
                                      (๑)  เปนคูกรณีเอง

                                      (๒) เปนคูหมั้นหรือคูสมรสของคูกรณี
                                      (๓) เปนญาติของคูกรณี คือ เปนบุพการีหรือผูสืบสันดานไมวาชั้นใด ๆ หรือเปน

                 พี่นองหรือลูกพี่ลูกนองนับไดเพียงภายในสามชั้นหรือเปนญาติเกี่ยวพันทางแตงงานนับไดเพียงสองชั้น
                                      (๔) เปนหรือเคยเปนผูแทนโดยชอบธรรม หรือผูพิทักษ หรือผูแทนหรือตัวแทน

                 ของคูกรณี
                                      (๕) เปนเจาหนี้หรือลูกหนี้ หรือเปนนายจางของคูกรณี

                                      (๖)  กรณีอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
                                      ซึ่งหากเกิดกรณีที่เจาหนาที่เปนผูมีลักษณะขางตน คูกรณี ซึ่งหมายถึงผูยื่น
                 คําขอหรือผูคัดคานคําขอ ผูอยูในบังคับหรือจะอยูในบังคับของคําสั่งทางปกครอง และผูซึ่งไดเขามา
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43