Page 34 - 09_กฎหมายอนทเกยวของกบการปฏบตหนาท_Neat
P. 34

๒๗




                 เรื่องใดไวโดยเฉพาะและมีหลักเกณฑที่ประกันความเปนธรรม หรือมีมาตรฐานในการปฏิบัติราชการ
                 ไมตํ่ากวาหลักเกณฑที่กําหนดใน พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙

                 ก็ใหเปนไปตามกฎหมายดังกลาว ตามมาตรา ๓
                             “ÁÒμÃÒ ó วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองตามกฎหมายตาง ๆ ใหเปนไปตามที่กําหนด

                 ในพระราชบัญญัตินี้เวนแตในกรณีที่กฎหมายใดกําหนดวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองเรื่องใดไว
                 โดยเฉพาะและมีหลักเกณฑที่ประกันความเปนธรรม หรือมีมาตรฐานในการปฏิบัติราชการไมตํ่ากวา

                 หลักเกณฑที่กําหนดในพระราชบัญญัตินี้
                             ความในวรรคหนึ่งมิใหใชบังคับกับขั้นตอนและระยะเวลาอุทธรณหรือโตแยงที่กําหนด

                 ในกฎหมาย”
                             ดังนั้น ตามมาตรา ๓ วรรค ๒ กรณีหลักเกณฑเกี่ยวกับ “ขั้นตอนและระยะเวลาอุทธรณ

                 หรือโตแยง”  ไมจําตองพิจารณาวามีมาตรฐานตํ่ากวา พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติฯ หรือไม ทั้งนี้เพราะเจตนารมณ
                 ของผูรางกฎหมายเฉพาะแตละฉบับมีความแตกตางกัน อีกทั้งสาระในแตละกฎหมายอาจไมเหมือนกัน
                 จึงเปนการยากที่จะใหปฏิบัติตาม พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติฯ ทั้งหมด



                             ñ. ¤ÇÒÁËÁÒÂáÅÐͧ¤»ÃСͺ¢Í§คําÊÑè§·Ò§»¡¤Ãͧ
                                 ñ.ñ ¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧคําÊÑè§·Ò§»¡¤Ãͧ
                                      พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติฯ มาตรา ๕ ไดกําหนดบทนิยามของคําวาคําสั่งทางปกครอง

                 ไวเปนการเฉพาะโดยให “คําสั่งทางปกครอง” หมายความวา
                                      (๑)  การใชอํานาจตามกฎหมายของเจาหนาที่ที่มีผลเปนการสรางนิติสัมพันธ

                 ขึ้นระหวางบุคคลในอันที่จะกอ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบตอสถานภาพของสิทธิ
                 หรือหนาที่ของบุคคล ไมวาจะเปนการถาวรหรือชั่วคราว เชน การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ

                 การวินิจฉัยอุทธรณ การรับรอง และการรับจดทะเบียน แตไมหมายความรวมถึงการออกกฎ
                                      (๒)  การอื่นที่กําหนดในกฎกระทรวง

                                           บทบัญญัติดังกลาวแสดงใหเห็นวาคําสั่งทางปกครองมี ๒ ความหมาย
                 คือ ความหมายโดยแท ตามมาตรา ๕(๑) และความหมายโดยผลของกฎหมาย ตามมาตรา ๕(๒)

                 ซึ่งปจจุบันนายกรัฐมนตรีไดออกกฎกระทรวงฉบับที่ ๑๒ เพื่อกําหนดใหการดําเนินการใดหรือคําสั่งใด
                 เปนคําสั่งทางปกครองโดยกําหนดวาใหการดําเนินการของเจาหนาที่ดังตอไปนี้ เปนคําสั่งทางปกครอง

                 ใหการดําเนินการของเจาหนาที่ดังตอไปนี้ เปนคําสั่งทางปกครอง
                                           ๑.  การดําเนินการเกี่ยวกับการจัดหาหรือใหสิทธิประโยชนในกรณี

                 ดังตอไปนี้
                                              (๑)  การสั่งรับหรือไมรับคําเสนอขาย รับจาง แลกเปลี่ยน ใหเชา ซื้อ

                 เชา หรือใหสิทธิประโยชน
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39