Page 44 - 09_กฎหมายอนทเกยวของกบการปฏบตหนาท_Neat
P. 44

๓๗




                                      ใหเจาหนาที่ตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองใชมาตรการบังคับทางปกครอง
                 เพียงเทาที่จําเปนเพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของคําสั่งทางปกครอง โดยกระทบกระเทือนผูอยูใน

                 บังคับของคําสั่งทางปกครองนอยที่สุด”


                 ʋǹ·Õè ó  ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑμԨѴμÑé§ÈÒÅ»¡¤ÃͧáÅÐÇÔ¸Õ¾Ô¨ÒóҤ´Õ»¡¤Ãͧ ¾.È.òõôò

                             ศาลปกครองเปนองคกรตุลาการที่จัดตั้งขึ้น แยกออกมาเปนเอกเทศจากศาลยุติธรรมภายใต

                 ระบบ “ศาลคู” เพื่อใหศาลปกครองทําหนาที่เปนองคกรที่ใชอํานาจตุลาการในกระบวนการทางปกครอง
                 แยกตางหากจากศาลยุติธรรม ที่ใชอํานาจตุลาการในกระบวนการยุติธรรมทางแพงและทางอาญา

                 ดวยเหตุนี้ศาลปกครองจึงมีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีปกครองโดยเฉพาะ อันหมายถึงคดีพิพาทระหวาง
                 หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐกับเอกชน และคดีพิพาทระหวางหนวยงานทางปกครอง

                 หรือเจาหนาที่ของรัฐดวยกันเอง อันเนื่องมาจากการใชอํานาจปกครองตามกฎหมายหรือเนื่องมาจาก
                 การดําเนินกิจการทางปกครองของหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐ ทั้งนี้ ตามที่บัญญัติไวใน
                 พ.ร.บ.จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.๒๕๔๒ เชน คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หนวยงาน

                 ทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐกระทําการโดยไมชอบดวยกฎหมายไมวาจะเปนการออกกฎ คําสั่ง
                 หรือการกระทําอื่นใด คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐละเลยตอ

                 หนาที่ตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติ หรือปฏิบัติหนาที่ดังกลาวลาชาเกินสมควร คดีพิพาทเกี่ยวกับ
                 การกระทําละเมิดทางปกครองหรือความรับผิดอยางอื่น คดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง เปนตน

                             ดวยเหตุที่ลักษณะคดีปกครองมีพื้นฐานจากขอพิพาทที่เกิดจากความสัมพันธที่ไม
                 เทาเทียมกันประกอบกับเอกสารหลักฐานสวนใหญอยูในความครอบครองของคูกรณีฝายที่เปนหนวยงาน

                 ทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐ ซึ่งคูกรณีฝายรัฐมีความพรอมหรือความสามารถในการเสนอ
                 ขอเท็จจริงและแสดงพยานหลักฐานตอศาลมากกวาคูกรณีฝายเอกชน ดังนั้น การดําเนินกระบวน

                 วิธีพิจารณาคดีปกครองจึงตองมีลักษณะพิเศษโดยใช “วิธีพิจารณาระบบไตสวน” อันเปนระบบ
                 วิธีพิจารณาที่ศาลจะเปนผูมีอํานาจหนาที่สําคัญในการควบคุมและกํากับการดําเนินคดีเพื่อใหสามารถ

                 ตรวจสอบและคนหาขอเท็จจริงไดอยางถูกตองครบถวน
                             วิธีพิจารณาระบบไตสวน กลาวคือเปนระบบที่ตุลาการศาลปกครองมีหนาที่แสวงหา

                 ขอเท็จจริงทั้งปวงที่เกี่ยวกับคดี โดยไมจํากัดเฉพาะที่เสนอโดยคูกรณี อยางไรก็ตามในการแสวงหา
                 ขอเท็จจริงและพยานหลักฐานของศาลในระบบไตสวน ศาลยอมตองแสวงหาขอเท็จจริงจากคูกรณี

                 ทั้งสองฝายเสียกอน ดังนั้นคูความทั้งสองฝายยังคงมีหนาที่รวบรวมพยานหลักฐานทั้งหมดที่เห็นวา
                 จําเปนตามขออางขอตอสูของตนและหักลางนําเสนอ เพื่อใหศาลพิจารณาแตหากศาลเห็นวา
                 พยานหลักฐานที่ทั้งสองฝายนําเสนอตอศาลนั้นยังไมครบถวนเพียงพอที่จะพิจารณาพิพากษาคดี

                 ศาลก็สามารถรวบรวมและแสวงหาพยานหลักฐานไดดวยตนเอง อีกทั้งการพิจารณาพิพากษาคดีปกครอง

                 ศาลสามารถพิจารณาขอเท็จจริงและพฤติการณตาง ๆ เกี่ยวกับคดีไดจากสิ่งที่ปรากฏเปนเอกสาร
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49