Page 25 - งานจักรยานยนต์
P. 25

21


                  2.2.2 กระบอกสูบและถูกสูบ

                  1. กระบอกสูบ (Cylinder)

                        กระบอกสูบเครื่องยนต์ 4 จังหวะ คล้ายกับกระบอกสูบของเครื่องยนต์ 2 จังหวะ ที่

                  แตกต่างออกไปคือ ไม่มีช่องไอดี ช่องขับไล่ไอเสีย ช่องไอเสียและช่องทางน ้ามันหล่อลื่น

                  แต่มีช่องใช่ขับเฟืองเพลาราวลิ่น ยางรองใช่และตัวปรับความดีเของโซ่
                  2. ถูกสูบเรื่องยนต์ (Pistons)

                         ลูกสูบเป็นตัวรับความร้อนและความดันสูงจากการเผาไหม้ โดยเคลื่อนที่ขึ นและ

                  ลงภายในกระบอกสูบลูกสูบต้องแข็งแรง ทนต่อความร้อน ระบายความร้อนได้ดี และทน

                  ต่อการสึกหรอ ดังนั น ลูกสูบโดยทั่วไปมักท้าด้วยอะลูมิเนียมผสม ซึ่งมีน ้าหนักเบาและ

                  เหมาะกับความเร็วรอบสูง ๆ มีคุณสมบัติการน้าและแผ่นความร้อนที่ดี เนื่องจากตรงหัว

                  ลูกสูบจะได้รับความร้อนและขยายตัวมาก จึงต้องท้าให้เล็กกว่าชายลูกสูบ (Piston Skirt)

                  ตรงรูสลักลูกสูบ (Piston  Boss) มีความหนาและสามารถขยายตัวได้มากกว่าส่วนอื่น ๆ

                  ขณะท้างานที่ความร้อนสูง ดังนั น จึงออกแบบให้เส้นผ่านศูนย์กลางลูกสูบ แนวรูสลักสูบ

                  แคบกว่าเส้นผ่านศูนย์กลางแนวตั งฉากสลักลูกสูบ เมื่อขยายตัวออกจะเป็นทรงกระบอก
                  เต็มกระบอกสูบพอดี เพื่อเป็นการลดน ้าหนักน ้าหนักและลดเสียงดังด้วยการเว้าข้างรูสลัก

                  ลูกสูบมีระยะเยื องศูนย์กลาง (Off set)เล็กน้อย เพื่อลดแรงตบข้างของลูกสูบ เมื่อลูกสูบ

                  เคลื่อนที่กลับทิศทางที่ศูนย์ตายบนให้เบา ตรงชายลูกสูบปาดเว้า หรือผิวนอกลูกสูบข้าง

                  สลักลูกสูบลด

                  2.2.3 เพลาข้อเหวี่ยงและก้านสูบ

                  1. เพลาข้อเหวี่ยงแบบแยกชิ้น (Assembled Type)

                         เพลาข้อเหวี่ยงแบบนี  ประกอบด้วยแกนเพลาข้อเหวี่ยง (Cank Jourmal) แก้ม

                  ข้อเหวี่ยง (Crank Web) น ้าหนักสมดุล (Balance Weight) และสลักข้อเหวี่ยง (Crank

                  Pin) เป็นส่วนส้าหรับสมฐานก้านสูบโดยมีลูกปืนเข็ม (Needle Bearing) รองรับ
                  2. เพลาข้อเหวี่ยงแบบชิ้นเดียว (Integrated Type)

                         เพลาข้อเหวี่ยงแบบนี ประกอบด้วยข้ออก (Crank  Jurnal) ข้อก้าน (Crank  Pin)

                  แก้มเพลา (Crank  Web) และน ้าหนักสมดุล (Balance  Weight) รวมเป็นชิ นเดียวกัน

                  ทั งหมด ฐานก้านสูบสามารถถอดแยกได้ ใช้แบริ่งก้านสูบเป็นแบริ่งกาบ (Plain Bearing)

                  แบริ่งข้ออกเป็นแบริ่งทรงกระบอกมีปีกกันรุน หรือเป็นตลับลูกปืน แล้วแต่การออกแบบ
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30