Page 10 - Microsoft Word - บทที่ 1.doc
P. 10

9








                                    1.   การออกแบบ (Design)  จะเปนสวนชวยเหลือสนับสนุนเชิงทฤษฎีใหญที่สุดของ
                       เทคโนโลยีการศึกษา  อาทิเชน  การออกแบบระบบการสอน  การออกแบบสาร  กลยุทธการสอน

                       และลักษณะเฉพาะของผูเรียน

                                    2.   การพัฒนา (Development)  ที่มีความสมบูรณจะเปนสวนเกื้อหนุนมากที่สุดในการ
                       ปฏิบัติ  อาทิเชน  เทคโนโลยีการพิมพ  เทคโนโลยีโสตทัศน  เทคโนโลยีคอมพิวเตอร  และ

                       เทคโนโลยีแบบบูรณาการ

                                    3.   การใช (Utilization)  หลังจากไดมีการพัฒนาเปนอยางดีทั้งในดานทฤษฎีและการ

                       ปฏิบัติ  กอใหเกิด การใชสื่อ  การแพรกระจายนวัตกรรม  การใชงานและความเปนองคกร  นโยบาย
                       และกฏระเบียบ

                                    4.   การจัดการ (Management)  จะเปนสวนหนึ่งที่มีอยูเสมอในทุกขอบขายทั้งนี้เพราะ

                       ตองมีการรวบรวมและจัดการทรัพยากรเพื่อการสนับสนุนในแตละภารกิจ  อาทิเชน  การจัดการ

                       โครงการ  การจัดการระบบการสงผาน  และการจัดการสารสนเทศ
                                    5.   การประเมิน (Evaluation)  เปนขอบขายที่ตองอาศัยการวิจัยจากขอบขายอื่นๆ อาทิ

                       เชน  การวิเคราะหปญหา  การวัดผลแบบอิงเกณฑ  การประเมินความกาวหนา  และการประเมินขั้น

                       สรุป
                                    จากขอบขายทั้ง 5 ของเทคโนโลยีการศึกษา  ซึ่งอธิบายมาดังกลาวขางตน  ยังมีขอความ

                       ที่เกี่ยวของกับความหมายของเทคโนโลยีการศึกษา และจําเปนจะตองอธิบายใหเขาใจดังนี้

                                    1.   ทฤษฎีและการปฏิบัติ  ในวงการวิชาชีพตางๆ จะตองมีพื้นฐานความรูที่สนันสนุน

                       การปฏิบัติ  เชนเดียวกับในแตละขอบขายของเทคโนโลยีการศึกษาที่รวมเอาองคความรูที่ไดมาจาก
                       ทั้งการวิจัยและประสบการณ  ความสัมพันธระหวางทฤษฎีและการปฏิบัติตางไดรับการเกื้อหนุน

                       จากขอบขายของวิชาการที่เจริญเติบโตสมบูรณเต็มที่แลว  โดยทฤษฎีจะประกอบดวยมโนทัศน

                       การสราง  หลักการ  และการวินิจฉัย  สวนการปฏิบัติเปนการประยุกตใชองคความรูในการ

                       แกปญหา  และการปฏิบัติจะสามารถชวยเอื้อใหกับฐานความรูโดยใชสารสนเทศที่ไดมาจาก
                       ประสบการณ

                                    2.   กระบวนการและทรัพยากร  ความหมายนี้จะตีกรอบในเรื่องของกระบวนการและ

                       ผลผลิต  กระบวนการเปนขั้นตอนของการปฏิบัติหรือกิจกรรมที่มีผลสงตรงไปยังผลลัพธเฉพาะ
                       เชน  ขั้นตอนของระบบการสงผานในการประชุมทางไกล  การออกแบบระบบการสอน ฯลฯ  สวน

                       ทรัพยากรเปนแหลงสนับสนุน  ซึ่งรวมถึงระบบเกื้อหนุน  สิ่งแวดลอม  และวัสดุอุปกรณการเรียน

                       การสอน
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15