Page 26 - Learning Points from HROD TALK
P. 26

Learning Points from HROD TALK   21



                       2. ทฤษฎีกำรก ำหนดเป้ำหมำย (Goal- ค ำแนะน ำ หรือควำมช่วยเหลือ ผู้บริหำรต้องให้ควำม
               Setting Theory) ของ เอ็ดวิน ล็อค (Edwin Locke)  ช่วยเหลือในส่วนนี้ด้วย

               ที่กล่ำวถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกำรท ำงำนกับ
               เป้ำหมำย (Goal) พฤติกรรมของคนเรำเป็นผลมำจำก   ทฤษฎีกำรสร้ำงองค์ควำมรู้ด้วยตนเอง
               ควำมตั้งใจในกำรบรรลุเป้ำหมำย                  (Constructionism Theory)
                       ทฤษฎีนี้พบว่ำ คนที่ได้รับมอบเป้ำหมำยงำนที่    Constructionism หรือทฤษฎีกำรสร้ำงองค์

               สูงขึ้น คือ คนที่ท ำงำนได้ดีกว่ำคนที่ได้รับมอบหมำยงำน  ควำมรู้ด้วยตนเอง เป็นทฤษฎีทำงกำรศึกษำที่
               หรือเป้ำหมำยที่ง่ำยกว่ำและไม่เฉพำะเจำะจง อย่ำงไรก็ดี  พัฒนำขึ้นโดย Professor Seymour Papert แห่ง
               ทฤษฎีกำรก ำหนดเป้ำหมำยจะน ำไปใช้อย่ำงได้ผลเมื่อ  M.I.T. (Massachusetts Institute of Technology)
               พนักงำนผู้นั้นเกิดควำมเชื่อภำยในตนเองว่ำตัวเขำมี  เป็นทฤษฎีกำรเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นผู้สร้ำงองค์

               ควำมสำมำรถเพียงพอที่ท ำงำนชิ้นนั้นให้ส ำเร็จได้ ยิ่งถ้ำ  ควำมรู้ด้วยตนเอง โดยแนวคิดของทฤษฎีนี้ เชื่อว่ำกำร
               เขำมีควำมเชื่อภำยในตัวเองสูงเท่ำใด เขำจะยิ่ง  เรียนรู้ที่ดีเกิดจำกกำรสร้ำงพลังควำมรู้ในตนเองและ
               ตั้งเป้ำหมำยให้สูงเท่ำนั้น ทฤษฎีนี้เชื่อว่ำพฤติกรรมของ  ด้วยตนเองของผู้เรียน โดยผู้เรียนได้สร้ำงควำมคิดและ
               คนเรำเกิดจำกกำรก ำหนดเป้ำหมำยและควำมมุ่งมั่น   น ำควำมคิดของตนเองไปสร้ำงสรรค์ชิ้นงำนโดยอำศัย

               (Goal and Intention) ดังนั้น ถ้ำผู้บริหำรต้องกำรจะจูง  สื่อและเทคโนโลยีที่เหมำะสม จะท ำให้เห็นควำมคิด
               ใจให้พนักงำนมีพฤติกรรมไปในทำงใด ก็ต้องท ำให้  นั้นเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน และเมื่อผู้เรียนสร้ำงสิ่งใดสิ่ง
               พนักงำนมีเป้ำหมำย โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งสำมำรถเพิ่มควำม  หนึ่งขึ้นมำในโลกก็หมำยถึงกำรสร้ำงควำมรู้ขึ้นใน

               ท้ำทำยมำกขึ้น ถ้ำให้พนักงำนเป็นผู้ก ำหนดเป้ำหมำยขึ้น  ตนเองนั่นเอง ควำมรู้ที่ผู้เรียนสร้ำงขึ้นในตนเองนี้ จะมี
               เองและปฏิบัติเอง (สุรำงค์ เทพศิริ, 2554: 203)   ควำมหมำยต่อผู้เรียนจะอยู่คงทน ผู้เรียนจะไม่ลืมง่ำย
                       กำรก ำหนดเป้ำหมำย ดังกล่ำวจะต้องมี    และจะสำมำรถถ่ำยทอดให้ผู้อื่นเข้ำใจควำมคิดของตน
               คุณสมบัติ ดังนี้                              ได้ดี นอกจำกนั้นควำมรู้ที่สร้ำงขึ้นเองนี้ยังจะเป็นฐำน
                       1) กำรยอมรับของเป้ำหมำย (Goal Acceptance)   ให้ผู้เรียนสำมำรถสร้ำงควำมรู้ใหม่ต่อไปอย่ำงไม่มีที่

                         เป้ำหมำยที่ดีต้องเป็นเป้ำหมำยที่พนักงำนทุก  สิ้นสุด (ทิศนำ แขมมณี, 2555: 96-98) โดยทฤษฎีนี้
                         คนเข้ำใจยินยอม และให้ควำมร่วมมือที่จะ  ถูกใช้อย่ำงแพร่หลำยในแวดวงกำรศึกษำของ
                         ปฏิบัติตำม                          ต่ำงประเทศมำนำนกว่ำ 40 ปี ให้ควำมส ำคัญกับ

                       2) ลักษณะเฉพำะของเป้ำหมำย (Goal       โอกำส และวัสดุที่จะใช้ในกำรเรียนกำรสอน ที่ผู้เรียน
                         Specificity) เป้ำหมำยที่เฉพำะเจำะจงจะ  สำมำรถน ำไปสร้ำงควำมรู้ให้เกิดขึ้นภำยในตัวผู้เรียน
                         น ำไปสู่ผลกำรปฏิบัติงำนที่สูงขึ้นและสูง  เองได้
                         กว่ำเป้ำหมำยทั่วไป

                       3) ควำมท้ำทำยของเป้ำหมำย  (Goal                 ประสบกำรณ์ใหม่/ควำมรู้ใหม่
                         Challenge) เป้ำหมำยที่ก ำหนดควรเป็น                       +
                         เป้ำหมำยที่ค่อนข้ำงยำกแต่สำมำรถปฏิบัติ         ประสบกำรณ์เดิม/ควำมรู้เดิม
                         ได้ (Difficult but Realistic)                             =
                                                                             องค์ควำมรู้ใหม่
                       นอกเหนือจำกก ำหนดคุณลักษณะเป้ำหมำย
               ทั้ง 3 ข้อแล้ว ผู้บริหำรควรให้ข้อมูลย้อนกลับ เพื่อให้
               พนักงำนทรำบว่ำพวกเขำปฏิบัติงำนได้ผลส ำเร็จ

               เพียงใดต้องปรับปรุงส่วนใด ถ้ำพนักงำนต้องกำร
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31