Page 194 - คำวินิจฉัยศาลปกครองด้านพัสดุ
P. 194
๑๘๐
๑.๖ ผู้ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายในขั้นตอนการด าเนินการอื่นๆ
๑ . ๖.๑ ขั้นตอนการเข้าเสนอราคาของผู้ผ่านคุณสมบัติเป็ นผู้มีสิทธิ
เสนอราคาในการจัดซื้อหรือจัดจ้างโดยวิธีประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
้
กรณีนี้มีตัวอย่างคดีพิพาทซึ่งศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยว่า ผู้ฟองคดี
้
เป็นผู้ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหาย ซึ่งมีสิทธิฟองคดีต่อศาลปกครอง ดังนี้
- กรณี ที่ผู้มีสิ ทธิ เสนอราคาในการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิ ธีการ
ทางอิเล็กทรอนิกส์ปฏิเสธการเข้าเสนอราคา เป็นเหตุให้หน่วยงานทางปกครองที่ประกาศ
จัดซื้อจัดจ้างมีหนังสือเรียกให้ส่งเงินตามสัญญาค ้าประกัน (หลักประกันซอง) ฟ้ องขอให้
เพิกถอนหนังสือเรียกให้ส่งเงินดังกล่าว
้
: ค าสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ ๕๐๔/๒๕๕๑ ผู้ฟองคดีเป็นผู้มีสิทธิเสนอ
ราคาในการประมูลราคาจ้างก่อสร้างอาคารส านักงานสรรพากรพื้นที่พร้อมงานผังบริเวณด้วยระบบ
้
้
อิเล็กทรอนิกส์ของกรมสรรพากร (ผู้ถูกฟองคดี) แต่ผู้ฟองคดีเห็นว่าราคากลางที่ก าหนดไว้
้
ต ่าเกินไป จึงมีหนังสือแจ้งผู้ถูกฟองคดีว่าไม่ประสงค์จะเสนอราคาและขอรับคืนหนังสือสัญญา
้
ค ้าประกัน (หลักประกันซอง) แต่ไม่สามารถขอรับคืนได้ ต่อมา ผู้ถูกฟองคดีมีหนังสือแจ้งให้
้
ธนาคารในฐานะผู้ค ้าประกันส่งเงินตามสัญญาค ้าประกัน (หลักประกันซอง) โดยอ้างว่า ผู้ฟองคดี
ท าผิดเงื่อนไขตามหนังสือแสดงเงื่อนไขการซื้อและการจ้างโดยการประมูลด้วยระบบ
้
อิเล็กทรอนิกส์ ผู้ฟองคดีเห็นว่าการยึดหลักประกันซองดังกล่าวไม่ชอบด้วยกฎหมาย ท าให้
้
ผู้ฟองคดีต้องเสียค่าธรรมเนียมส าหรับสัญญาค ้าประกันให้ธนาคารเป็นรายปี ปีละ ๔๘,๐๐๐ บาท
้
จึงน าคดีมาฟองขอให้ศาลพิพากษาหรือมีค าสั่งให้เพิกถอนค าสั่งให้ยึดหลักประกันซอง
้
้
ดังกล่าว ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยว่า การที่ผู้ถูกฟองคดียึดหลักประกันซองของผู้ฟองคดี
ไม่ใช่เป็นการใช้อ านาจตามกฎหมายแต่เป็นการใช้สิทธิตามหนังสือแสดงเงื่อนไขการซื้อ
หรือการจ้างฯ ซึ่งเป็นสัญญาทางปกครอง กรณีจึงเป็นคดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง
ตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๔) ประกอบกับมาตรา ๗๒ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชบัญญัติ
จัดตั้งศาลปกครองฯ และการยึดหนังสือสัญญาค ้าประกันของธนาคารผู้ค ้าประกันไว้นั้น
้
เป็นเหตุให้ผู้ฟองคดีต้องเสียค่าธรรมเนียมส าหรับหนังสือสัญญาค ้าประกันดังกล่าวเป็นรายปี