Page 203 - คำวินิจฉัยศาลปกครองด้านพัสดุ
P. 203
๑๘๙
้
อีกต่อไป กรณีจึงถือได้ว่าเหตุแห่งการฟองคดีนี้ได้หมดสิ้นไปแล้ว ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์
ที่จะด าเนินกระบวนพิจารณาคดีนี้อีกต่อไป
้
้
(๓.๒) ค าสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ ๔๔๔/๒๕๕๒ กรณีฟองว่า การไฟฟา
้
้
ส่วนภูมิภาค (ผู้ถูกฟองคดี) ออกประกาศประกวดราคาเพื่อจัดจ้างบริการงานด้านระบบไฟฟา
แบบราคาคงที่ไม่จ ากัดจ านวนด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยมีการก าหนดเงื่อนไขคุณสมบัติ
ของผู้มีสิทธิเสนอราคาไว้โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ขอให้ศาลมีค าพิพากษาหรือค าสั่งให้
เพิกถอนประกาศประกวดราคาดังกล่าว ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยว่า เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่า
้
ผู้ถูกฟองคดีได้มีค าสั่งให้ยกเลิกการประกวดราคาตามประกาศประกวดราคาที่พิพาททั้งหมด
้
และด าเนินการออกประกาศประกวดราคาใหม่แล้ว จึงเป็นกรณีที่ผู้ถูกฟองคดีได้ด าเนินการ
้
้
ตามค าขอของผู้ฟองคดีแล้ว ความเดือดร้อนเสียหายที่ผู้ฟองคดีขอให้ศาลปกครองแก้ไขเยียวยา
้
ได้รับการแก้ไขและมูลเหตุแห่งการฟองคดีได้หมดสิ้นไปโดยไม่จ าเป็นที่ศาลปกครองจะต้อง
ก าหนดค าบังคับตามมาตรา ๗๒ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองฯ (ค าสั่งศาลปกครอง
สูงสุดที่ ๔๗๑/๒๕๕๒ วินิจฉัยแนวทางเดียวกัน)
๒.๒ ค าขอบังคับในขั้นตอนการเผยแพร่ประกาศจัดซื้อหรือจัดจ้าง
มีตัวอย่างค าวินิจฉัยของศาลปกครองสูงสุดที่น่าสนใจ ดังนี้
- การมีค าขอให้พิจารณาลงโทษทางวินัยแก่เจ้าหน้าที่ เนื่องจากผู้ฟ้ องคดี
เห็นว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐกระท าการปกป ิ ดการจัดซื้อจัดจ้างโดยมิชอบด้วยกฎหมาย ท าให้
ผู้ฟ้ องคดีเสียโอกาสในการเข้าเสนอราคาและท าให้ทางราชการได้รับความเสียหาย
้
้
: ค าสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ ๒๖๗/๒๕๕๓ กรณีฟองว่า ผู้ถูกฟองคดีทั้งสิบสองคน
ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐกระท าการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย โดยการปกปิดการจัดซื้อจัดจ้าง
่
โครงการตามงบประมาณเงินอุดหนุนเฉพาะกิจอันเป็นการฝาฝืนระเบียบกระทรวงมหาดไทย
้
ว่าด้วยการพัสดุขององค์การบริหารส่วนต าบล พ.ศ. ๒๕๓๘ ท าให้ผู้ฟองคดีเสียโอกาสในการ
เข้าเสนอราคาและท าให้ทางราชการได้รับความเสียหาย ขอให้ศาลมีค าพิพากษาหรือมีค าสั่ง
้
ลงโทษทางวินัยอย่างร้ายแรงแก่ผู้ถูกฟองคดีทั้งสิบสองโดยให้ปลดออกหรือไล่ออกจากราชการ
้
ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยว่า การพิจารณาลงโทษทางวินัยแก่ผู้ถูกฟองคดีทั้งสิบสองคน
เป็นเรื่องการใช้อ านาจทางการบริหารของผู้บังคับบัญชาที่จะพิจารณาด าเนินการกับ
ผู้ใต้บังคับบัญชาตามควรแก่พฤติการณ์เป็นรายกรณีตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย และเป็นการ
่
ใช้ดุลพินิจและอ านาจของผู้บังคับบัญชาอันถือเป็นมาตรการภายในฝายปกครองโดยเฉพาะ