Page 20 - Connect with respect: preventing gender-based violence in schools; classroom programme for students in early secondary school (ages 11-14); 2016
P. 20
ตารางที่ 3 :ความแตกต่างอันเนื่องมาจากเพศก�าเนิดกับเพศภาวะ
ความแตกต่างทางเพศสรีระ ความแตกต่างทางเพศภาวะ
มีลักษณะทำงชีวภำพหรือทำงกำยวิภำคของร่ำงกำยเพศชำยและเพศหญิงแตกต่ำงกันตั้งแต่ก�ำเนิด เรียนรู้ลักษณะควำมแตกต่ำงผ่ำนกระบวนกำรขัดเกลำเอำอย่ำงและสังเกตแล้วถ่ำยทอด
(ในคนเพศก�ำกวมจะไม่ชัดเจนหรือมีลักษณะปนกัน) สืบต่อกันมำจำกรุ่นสู่รุ่น
ควำมแตกต่ำงทำงร่ำงกำยของผู้ชำยกับผู้หญิงเป็นไปในรูปแบบเดียวกันทั่วโลก มีควำมแตกต่ำงกันไปในแต่ละพื้นที่ทั่วโลกเนื่องจำกในบริบททำงสังคมวัฒนธรรมต่ำงที่กันบรรทัดฐำน
ทำงเพศภำวะก็จะมีลักษณะที่แตกต่ำงกัน
ควำมแตกต่ำงเหล่ำนี้เกิดขึ้นตั้งแต่ก�ำเนิดจนกระทั่งเป็นผู้ใหญ่เต็มตัว ควำมแตกต่ำงเหล่ำนี้อำจน�ำไปสู่กำรแสวงหำผลประโยชน์หรือกำรปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมเมื่อเคำรพ
คุณค่ำของบุคคลไม่เท่ำเทียมกันหรือเมื่อไม่ยอมรับบรรทัดฐำนที่ไม่เป็นไปตำมแบบแผน
ควำมแตกต่ำงนี้จะสังเกตได้ชัดเจนยิ่งขึ้นในช่วงวัยแรกรุ่นหรือเมื่อย่ำงเข้ำสู่วัยเจริญพันธุ์ บรรทัดฐำนทำงเพศภำวะสำมำรถเคลื่อนย้ำยเปลี่ยนแปลงข้ำมกำลเวลำได้
ควำมเชื่อเกี่ยวกับบรรทัดฐำนและบทบำททำงเพศภำวะประกอบสร้ำงขึ้นจำกสังคม ในที่นี้ บรรทัดฐำนทำงเพศภำวะคือมุมมองว่ำกำรกระท�ำ กำรพูดจำ กำรแต่งกำย และกำรแสดงออก
ว่ำบุคคลเป็นหญิงหรือชำยนั้นควรเป็นอย่ำงไร เด็กจะเรียนรู้บรรทัดฐำนและควำมคำดหวังเหล่ำนี้ในระหว่ำงที่เติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ กระบวนกำรขัดเกลำดังกล่ำวจึงมีอิทธิพลต่อบทบำท
ื
ท่เด็กจะรับไปยึดถือปฏิบัติ เด็กๆ สำมำรถซึมซับควำมคำดหวังทำงเพศภำวะจำกแหล่งต่ำงๆ ได้หลำยทำง ไม่ว่ำจะเป็น พ่อแม่ผู้ปกครอง กลุ่มเพ่อนวัยเดียวกัน ครูอำจำรย์ หรือแม้แต่ส่อต่ำงๆ
ี
ื
นอกจำกนี้เด็กยังรู้จักสังเกตและท�ำตำมวิธีปฏิบัติเชิงสถำบัน ธรรมเนียมปฏิบัติในชุมชน ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีต่ำงๆ อีกด้วย
ื
อย่ำงไรก็ดี บำงคนไม่อยำกกะเกณฑ์ให้ตนเองต้องเข้ำไปอยู่ในกรอบควำมคำดหวังทำงเพศภำวะท่สังคมก�ำหนด ขณะท่บำงคนก็เช่อว่ำตนเกิดมำในร่ำงกำยท่ไม่ถูกต้องเหมำะสมส�ำหรับตัวเอง
ี
ี
ี
ยกตัวอย่ำงเช่น คนข้ำมเพศจะมีอัตลักษณ์ทำงเพศภำวะไม่ตรงกับเพศสรีระที่ถูกก�ำหนดตอนถือก�ำเนิด ซึ่งอำจเป็นคนข้ำมเพศจำกชำยเป็นหญิง (มีรูปร่ำงลักษณะผู้หญิง หรือเปนที่รูจัก
้
็
่
็
ี
ู
ู
้
ื
ึ
็
่
้
็
่
ุ
ี
่
ั
ิ
ในนำมผ้หญิงขำมเพศ) หรือจำกหญงเป็นชำย (มรูปรำงลกษณะผชำย หรอเปนทร้จักในนำมผ้ชำยขำมเพศ) [24] บำงคนกไม่ตองกำรระบตัวตนวำเปนชำยหรอหญิงเพศใดเพศหนงไปเลย
ู
้
ู
ื
้
แต่ชอบให้มองว่ำเป็นกำรผสมผสำนของท้งสองเพศ ส่วนบำงคนก็ระบุตัวตนว่ำเป็น “เพศท่สำม” เช่น คนฮิจะรำในแถบเอเชียใต้ และคนฟำอะฟำฟินีในกลุ่มประเทศหมู่เกำะแปซิฟิก โดย
ี
ั
ในบำงประเทศ เช่น บังกลำเทศ อินเดีย เนปำล และปำกีสถำน เพศท่สำมคืออัตลักษณ์ท่รับรองตำมกฎหมำย โดยระบุไว้ในบัตรประจ�ำตัวประชำชนและเอกสำรรำชกำรอ่นๆ เด็กบำงคน
ื
ี
ี
ก็มีเพศก�ำกวมกล่ำวคือ เพศตำมธรรมชำติตอนถือก�ำเนิดมีลักษณะไม่ตรงแบบ เช่น คุณลักษณะทำงกำยภำพฮอร์โมนหรือโครโมโซมไม่อำจจ�ำแนกได้ว่ำเป็นหญิง หรือชำย ดังนั้นเด็กเพศ
ก�ำกวมจึงอำจรวมอยู่ในกลุ่มที่ไม่ระบุตัวตนตำมเพศสรีระตอนถือก�ำเนิดหรือไม่ถูกก�ำหนดว่ำเป็นชำยหรือหญิงตั้งแต่แรกเกิดก็ได้
ควำมคำดหวังทำงเพศภำวะบำงประกำรอำจเป็นอันตรำยหรือน�ำไปสู่กำรปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมก็ได้ตัวอย่ำงบรรทัดฐำนทำงเพศที่เป็นอันตรำย ได้แก่ ฐำนคติที่ยอมรับว่ำเด็กหนุ่มสำมำรถ
พูดจำแทะโลมผู้หญิงที่เดินผ่ำนไปมำตำมท้องถนนได้หรือฐำนคติที่มองว่ำระดับกำรศึกษำของลูกสำวไม่ส�ำคัญเท่ำของลูกชำยเป็นต้น
ึ
ี
ึ
ี
นอกจำกน้บรรทัดฐำนทำงเพศในชุมชนหน่งอำจแตกต่ำงจำกอีกชุมชนหน่งก็ได้ กล่ำวคือบำงชุมชนก็ยึดถือกำรปฏิบัติท่เป็นธรรมระหว่ำงชำยหญิงและแสดงให้เห็นมำกกว่ำชุมชนอ่น
ื
เป็นต้น
16