Page 30 - Connect with respect: preventing gender-based violence in schools; classroom programme for students in early secondary school (ages 11-14); 2016
P. 30
เด็กนักเรียนที่ประกำศว่ำตัวเองเป็น ‘คนรักเพศเดียวกัน’ จะมีแนวโน้มเผชิญควำมรุนแรงสูงขึ้น อันเป็นผลมำจำกควำมไม่รู้ข้อเท็จจริงและทัศนคติเชิงลบของชุมชน กลุ่มนักเรียนที่ไม่ได้
เป็นคนรักเพศเดียวกันแต่ถูกมองว่ำเป็น และกลุ่มที่เป็นคนเพศก�ำกวมและคนข้ำมเพศก็อำจต้องเผชิญกำรข่มเหงรังแกได้เช่นเดียวกัน เพรำะเป็นกลุ่มคนท่ไม่สอดคล้องกับบรรทัดฐำน
ี
กระแสหลักนั่นเอง ตัวอย่ำงเช่น งำนวิจัยที่ด�ำเนินกำรในประเทศไทยดังแสดงในแผนภูมิข้ำงล่ำงนี้ แสดงให้เห็นร้อยละของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1 ถึง 6 ที่เคยประสบเหตุกำรณ์
ควำมรุนแรงรูปแบบต่ำงๆ อันเป็นผลมำจำกวิถีทำงเพศหรืออัตลักษณ์ทำงเพศภำวะที่เป็นจริงหรือที่ถูกมองว่ำเป็น [24]
แผนภูมิที่ 3 : นักเรียนระดับชั้นม. 1-6 ในพื้นที่ห้าจังหวัดของประเทศไทยที่เคยประสบเหตุการณ์ความรุนแรงอันเป็นผลมาจากวิถีทางเพศหรือ
อัตลักษณ์ทางเพศภาวะที่เป็นจริงหรือที่ถูกมองว่าเป็น [24]
คนรักเพศเดียวกันและ/หรือ
มีความหลากหลายทางเพศ
ถูกมองว่าเป็นคนรักเพศเดียวกันและ/หรือ
มีความหลากหลายทางเพศ
การรังแก ทางร่างกาย ทางวาจา ทางสังคม ทางเพศ
รูปแบบต่างๆ
ที่มา: มหาวิทยาลัยมหิดลองค์การแพลน อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย) และส�านักงานยูเนสโก กรุงเทพมหานคร (2557)
ื
ควำมรุนแรงท่มีพ้นฐำนมำจำกวิถีทำงเพศหรืออัตลักษณ์และกำรแสดงออกทำงเพศภำวะ ก่อให้เกิดผลกระทบอันร้ำยแรงได้ เยำวชนท่เคยประสบควำมรุนแรงดังกล่ำวมักจะพบว่ำมีอำกำร
ี
ี
ดังนี้
• มีอัตรำควำมวิตกกังวล ภำวะซึมเศร้ำและกำรฆ่ำตัวตำยในระดับที่สูงขึ้น
• มีแนวโน้มเข้ำไปยุ่งเกี่ยวกับใช้ยำเสพติดและกิจกรรมทำงเพศที่มีควำมเสี่ยงมำกขึ้น
• มีผลกำรเรียนต�่ำกว่ำเพื่อนนักเรียนคนอื่น [24, 70-72]
26