Page 54 - Advande_Management_Ebook
P. 54

52                                         เอกสารประกอบการสอน : การจัดการขั้นสูง



           ทุกคนควรจะมี เพื่อใช้ในการดูแลการประสานงานของตัวเองกับผู้อื่น ทั้งนี้ผู้ที่อยู่ใน
           ต�าแหน่งสูงกว่าจะมีอ�านาจในการให้ค�าแนะน�าและให้ความรู้ หากสมาชิกในความดูแล

           ต้องการได้ดีด้วยวิธีการหรือทักษะเพิ่มเติมในการแก้ปัญหา นอกจากนี้ การใช้
           “คนกลาง” ที่ผู้เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งกันให้ความเชื่อถือและยอมรับในความเห็นจะ
           ช่วยให้การเจรจาต่อรองหรือหาวิธีแก้ปัญหาเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

           (กรุงเทพธุรกิจ. 2557: ออนไลน์)



                  การจัดการความขัดแย้งในองค์กร  (Organizational  Conflict
           Management)
                  ความขัดแย้งในองค์กรนั้น เป็นสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละองค์กรตลอด

           เวลาที่องค์กรได้มีการก�าหนดวิธีการในการด�าเนินธุรกิจ ภาครัฐก็คือ การปฏิบัติการ
           ตามแผนงานที่ก�าหนดไว้ในแต่ละปี ในการวางแผน การจัดการ การน�าและการควบคุม

           อันเป็นหลักส�าคัญของกระบวนการจัดการในยุคปัจจุบันนี้ ผู้น�าองค์กรที่ส�าคัญจะต้อง
           ตระหนักและเข้าใจถึงสาเหตุของความขัดแย้งที่เกิดขึ่นในองค์กรวิเคราะห์ปัญหาต่าง
           ๆ เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วและเข้าถึงปัญหานั้นหรือความขัดแย้งนั้น ๆ จากแหล่งหรือ

           ข้อมูลยังกลุ่มคนหรือคนที่สร้างปัญหาความขัดแย้งนั้นเกิดขึ้น ในการเป็นองค์กรนั้น
           จึงจ�าเป็นจะต้องมีกลุ่มตนที่เป็นคนกลางหรือกลุ่มพนักงานที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับปัญหา

           ความขัดแย้งเข้ามาร่วมเป็นเครื่องมือของผู้บริหารองค์กรในการเข้าไปเป็นคณะท�างาน
           ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งขององค์กรเพื่อค้นพบค้นหาและหารูปแบบที่สามารถ
           แก้ไขปัญหาความขัดแย้งนั้นได้ และน�าเสนอต่อผู้น�าองค์กร เพื่อใช้ในการวินิจฉัยหรือ

           สั่งการในการแก้ไขปัญหานั้นได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง โดยค�านึงถึงผู้มีส่วนได้เสีย
           อีกเกี่ยวข้องว่าจะต้องได้รับประโยชน์และสิ่งที่ต้องการอย่างเป็นธรรมเกิดคุณธรรม

           ภายใต้หลักจริยธรรมของผู้น�า คุณสมบัติของผู้น�าที่จะเข้ามาแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง
           ในองค์กรและการจัดการความขัดแย้งขององค์กรถือว่าภาวะผู้น�าในขณะนั้นมีความ
           ส�าคัญอย่างยิ่ง ความเป็นมนุษย์และพื้นฐานของความคิดของผู้น�าจึงถือได้ว่าเป็นหลัก

           การของการแก้ไขปัญหาในการตัดสินใจในปัญหาที่เกิดขึ้น ด้วยความเข้าใจธรรมชาติ
           ของมนุษย์ และเปิดใจกว้างที่จะแก้ไขปัญหาอย่างมีส่วนร่วม เพื่อให้บุคลากรใน

           องค์การสามารถสร้างผลการท�างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และน�าไปสู่การบริหาร
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59