Page 58 - Advande_Management_Ebook
P. 58
56 เอกสารประกอบการสอน : การจัดการขั้นสูง
มีการค�านึงถึง 5 รูปแบบ ดังนี้ 1) การปรองดอง หรือความราบรื่น (Accommodation
& Smoothing) คือ การลดลงความขัดแย้งและแสวงหาความสามัคคีระหว่างกัน
2) ความร่วมมือหรือการแก้ปัญหา (Collaboration & Problem Solving) คือ การ
ค้นหารูปแบบปฏิบัติการณ์ที่ตอบสนองความต้องการของกันและกัน 3) ประนีประนอม
(Compromise) คือ การเจรจาต่อรองเพื่อรับผลก�าไรและขาดทุนกับแต่ละฝ่าย
4) การหลีกเลี่ยงหรือการถอนตัวออก (Avoidance & Withdrawal) คือ การปฏิเสธ
ความเป็นจริงของความขัดแย้งและซ่อนความรู้สึกที่แท้จริง 5) การแข่งขันหรือค�าสั่ง
ที่มีอ�านาจ (Competition & Authoritative) คือ การบังคับให้มีการแก้ปัญหาเพื่อ
ก�าหนดวิถีชีวิตของผู้อื่น (John R. Schermerthorn, Jr. 2012: 353)
สาเหตุของความขัดแย้งในองค์กรประกอบด้วย 1) การติดต่อสื่อสารหรือ
ข้อความที่สื่อสารกัน 2) ลักษณะงานที่ต้องพึ่งพาซึ่งกันและกัน 3) การก�าหนดหน้าที่
ความรับผิดชอบของงานไม่ชัดเจน 4) การแข่งขันเพื่อแย่งชิงทรัพยากรที่มีอย่างจ�ากัด
5) การชิงดีชิงเด่นของอ�านาจและต�าแหน่งหน้าที่ของผู้บริหารทุกระดับ 6) การไม่
ด�าเนินการไปตามวิสัยทัศน์ พันธกิจและกลยุทธ์ขององค์กร เกิดขึ้นในองค์กรทุกแห่ง
ความขัดแย้งในองค์กร หมายถึง ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นมาโดยมีคู่กรณีขัดแย้ง
เป็นบุคคลหรือกลุ่มบุคคลย่อมที่มีอยู่ในกลุ่มหรืออยู่ในองค์กรหรือกลุ่มต่าง ๆ ความ
ขัดแย้งประเภทนี้ เกิดขึ้นเมื่อบุคคลกลุ่มและแผนกโดยองค์กรมองเห็นว่าวิธีการปฏิบัติ
งานระเบียบในการท�างานหรือนโยบายของบริษัทไม่สามารถเอื้ออ�านวยต่อความ
ต้องการของแต่ละฝ่ายได้ จึงจ�าเป็นที่จะต้องน�าการจัดการความขัดแย้งอย่าง
สร้างสรรค์ ซึ่งจะเน้นไปที่กระบวนการเรียนรู้จากภายใน ท�าความเข้าใจในทั้งสิ่งที่ตัว
เองและฝ่ายตรงข้ามต้องการ จากนั้นก็ร่วมมือกันหาหนทางตอบสนองความต้องการ
ของทั้งสองฝ่าย รวมไปถึงการดูแลอารมณ์ที่เข้ามาเกี่ยวข้อง จากนั้นก็ช่วยหาวิธีการ
ใหม่ ๆ ในการแสวงหาข้อตกลงร่วมกับคู่เจรจาได้อย่างมีประสิทธิผล “การจัดการ
ความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์” ท�าได้อย่างไร ความขัดแย้งเป็นกระบวนการที่บุคคล
ตั้งแต่สองคนขึ้นไป พบว่าต่างมีความต้องการที่แตกต่างกัน และความต้องการที่จะ
บรรลุเป้าหมายของตนเองส่งผลให้อีกฝ่ายมีประสิทธิผลในการบรรลุเป้าหมายลดลง
หรือไม่มีประสิทธิผลเลย การจัดการความขัดแย้งอย่างสรางสรรค์เป็นกระบวนการที่
ท�าความเข้าใจกับความต้องการลึก ๆ ของแต่ละฝ่าย และในความขัดแย้งจากความ