Page 139 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 139

บทที่ 6 ผลการศึกษาและอภิปรายผล ส่วนที่ 3: แนวปฏิบัติในการผลิตยาเพื่อรับการรับรอง WHO PQ   | 121





                       การถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการผลิตและการควบคุมคุณภาพ เพื่อการขอรับรองมาตรฐาน WHO

                       PREQUALIFICATION (WHO PQ) ขององค์การเภสัชกรรม

                       1. วิธีการถ่ายทอดเทคโนโลย ี

                           การที่องค์การเภสัชกรรม ตัดสินใจเลือกขอรับรอง WHO PQ โดยผ่านการรับถ่ายทอดเทคโนโลยี
                                               ื่
                                            5
                       (Technology Transfer)  เพอเป็นการแก้ปัญหาในส่วนของการขึ้นทะเบียนต ารับยา เนื่องจาก
                       เอกสารที่ใช้ในการขึ้นทะเบียนในประเทศไทยใช้ข้อมูลน้อยกว่าของ WHO PQ  เนื่องจากในการยื่น

                                                             ื่
                       เอกสารทะเบียนต ารับ (product dossier) เพอขอรับรอง WHO PQ ครั้งแรกที่ องค์การเภสัชกรรม
                       พระรามหก พบว่าทีมงานยังขาดประสบการณ์ และความเข้าใจในข้อก าหนดเรื่องเอกสารที่ใช้ในการ

                       ขึ้นทะเบียน เนื่องจากที่ผ่านมาเคยขึ้นทะเบียนเฉพาะต ารับยาในประเทศไทย จึงท าให้เอกสารไม่

                                                        ั
                       สมบูรณ์ ตั้งแต่ส่วนของการวิจัยและพฒนาเภสัชภัณฑ์ (Pharmaceutical development) การ
                       ทดสอบชีวสมมูลไม่เป็นไปตามข้อก าหนด  รวมทั้งเรื่องของ GMP ในด้านสถานที่ และระบบบริหาร

                                                                                    ี
                       จัดการคุณภาพ เนื่องจาก มาตรฐาน GMP ของไทยในปี พ.ศ. 2553 ยังไม่ม GMP PIC/S ในส่วนระบบ
                       บริหารจัดการคุณภาพ (Quality Management System)  รวมทั้ง QA Officer ที่อยู่ในสายการผลิต
                       ยังไม่มีความจ าเป็นในประเทศไทย นอกจากนี้เครื่องมือในระบบคุณภาพ (Quality tools) ทั้งหลาย

                       เช่น Deviation , Change control, Out of Specification, Supplier Qualification ยังไม่มีการ

                       ด าเนินการอย่างจริงจัง รวมถึงเรื่องการบริหารความเสี่ยงก็นับเป็นเรื่องใหม่ในประเทศไทย



                           การเตรียมความพร้อม การคัดเลือกผู้ถ่ายทอด การคัดเลือกผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลย  ี

                           o การคัดเลือกผลิตภัณฑที่จะรับการถ่ายทอดเทคโนโลยี
                                                 ์
                               ปี พ.ศ. 2554 องค์การเภสัชกรรม คัดเลือกยา Efavirenz tablets 600 mg เป็นตัวแรกใน

                       การถ่ายทอดเทคโนโลยี เนื่องจากมีความเห็นว่าการเลือกผลิตภัณฑ์ยาเดี่ยวน่าจะด าเนินการรับการ

                                                          ิ
                       ถ่ายทอดเทคโนโลยี และตอบค าถามการพจารณาทะเบียนต ารับจาก WHO ได้ง่ายกว่าผลิตภัณฑ์ยา
                       สูตรผสม ประกอบกับในเวลานั้นยา Efavirenz tablets 600 mg จัดเป็น first line therapy ในการ

                       รักษาผู้ป่วย HIV/AIDS

                           o การคัดเลือกผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี
                                                                                                      ื่
                               สถาบันวิจัยและพฒนา ขององค์การเภสัชกรรม ได้รับมอบหมายให้จัดเตรียมข้อมูลเพอขึ้น
                                              ั
                       ทะเบียนต ารับยา Efavirenz tablets 600 mg ต่อส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา เพื่อผลิตยา

                       รายการดังกล่าวที่ อภ. พระรามหก และได้รับอนุญาตทะเบียนต ารับยา เลขทะเบียนที่ 1A 43/56
                       (NG) แต่ต่อมาได้หยุดการผลิตไปเนื่องจากปัญหาด้านศักยภาพการผลิต (production capacity) ของ



                       5  WHO TRS No.961 Annex 7 ; 2011 WHO guidelines on transfer of technology in pharmaceutical manufacturing
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144