Page 142 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 142

Efavirenz WHO PQ: กรณีศึกษาความร่วมมือรัฐ-เอกชน ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและควบคุมคุณภาพ   | 124





                               ระดับผู้ปฏิบัติการ ก าหนดผู้รับผิดชอบตามหน้าที่งานที่รับผิดชอบ ดังนี้
                                                  ั
                               - สถาบันวิจัยและพฒนา ประสานงานการศึกษาชีวสมมูล จัดเตรียมเอกสารทะเบียน
                       ต ารับยาและการตอบค าถามในส่วนของการศึกษาชีวสมมูล

                               - กองการควบคุมคุณภาพ จัดเตรียมข้อมูล และด าเนินการที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์
                                                   ั
                               - ทุกหน่วยงานในสังกดโรงงานผลิตยารังสิต 1 การประกันคุณภาพโรงงานผลิตยารังสิต 1
                       จัดเตรียมข้อมูล รวบรวมเอกสาร จัดท าเล่มทะเบียนต ารับยา ด าเนินการผลิต การวิเคราะห์คุณภาพ

                       รวมถึงการเตรียมความพร้อมของบุคลากร อาคารสถานที่ และระบบสนับสนุนต่างๆ ส าหรับการตรวจ
                       ประเมินสถานที่ผลิตยาโดยคณะผู้ตรวจประเมินจากองค์การอนามัยโลก

                           2.2  อาคารสถานที่

                               จากการตรวจประเมินสถานที่ผลิตยาต้านไวรัสเอดส์ ขององค์การเภสัชกรรม พระรามหก
                       ณ สถานที่ผลิตเดิม ในปี พ.ศ.2545 และครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ.2548 ยังพบข้อบกพร่องในด้านอาคาร

                       สถานที่ ซึ่งเป็นเหตุผลหนึ่งในการพิจารณาโครงการก่อสร้างโรงงานผลิตยาต้านไวรัสเอดส์แห่งใหม่ของ

                                          ื่
                       องค์การเภสัชกรรม เพอพฒนาให้สอดคล้องตามมาตรฐานขององค์การอนามัยโลก ในการขอรับรอง
                                            ั
                       WHO Prequalification Programme (WHO PQ) โดยคณะผู้ตรวจประเมินจากองค์การอนามยโลก
                                                                                                         6
                                                                                                    ั
                       ได้ให้ข้อสังเกต ดังนี้
                               1) ผังการไหลของกระบวนการผลิตยา (process flow) ไม่เป็นลักษณะไปในทิศทางเดียว
                        (uni-directional flow)

                               2) ปัญหา penicillin residue contamination เนื่องจากอาคารผลิตยาต้านไวรัสเอดส์

                        ขององค์การเภสัชกรรม พระรามหก ตั้งอยู่ใกล้กับอาคารผลิตยากลุ่ม penicillin ซึ่งขณะนั้นพบว่าผล
                        การทดสอบ การปนเปื้อน penicillin ในสิ่งแวดล้อม มี residue หลงเหลืออยู่ แต่ไม่พบการปนเปื้อน

                        penicillin ในผลิตภัณฑ์อื่น

                               ในการก่อสร้างโรงงานผลิตยาต้านไวรัสเอดส์แห่งใหม่ขององค์การเภสัชกรรม จึงมุ่งเน้น
                       มาตรฐานให้สอดคล้องตามมาตรฐานขององค์การอนามัยโลก และแก้ปัญหาตามข้อสังเกตของคณะ

                       ผู้ตรวจประเมินขององค์การอนามัยโลก โดยออกแบบสายการผลิตให้เป็นแบบมีทิศทางการโฟลของ

                       กระบวนการเป็นทิศทางเดียว (Uni-directional flow) และจัดระบบสายการผลิตเป็นแบบหนึ่ง
                                                                                      ื่
                       ผลิตภัณฑ์ต่อหนึ่งสายการผลิตต่อช่วงเวลา (one line - one product) เพอลดความเสี่ยงของการ
                       ปนเปื้อนข้ามระหว่างผลิตภัณฑ  ์









                       6  WHO Inspection Report, Government Pharmaceutical Organization (GPO), Bangkok, Thailand, 25-28 October 2005.
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147