Page 15 - แนวคำพิพากษาศาลฎีกาเกี่ยวกับดุลพินิจในการรอหรือไม่รอการลงโทษหรือกำหนดโทษ
P. 15
13
รอกำรลงโทษ
๓๐๖๐/๒๕๕๖ จ าเลยที่ ๑ ที่ ๒ และที่ ๔ มีความผิดตาม ป.อ มาตรา ๒๙๕ จ าคุกคนละ ๖ เดือน
และปรับจ าเลยที่ ๒ และที่ ๔ คนละ ๑๐,๐๐๐ บาท ทางน าสืบของจ าเลยที่ ๑ ที่ ๒ และที่ ๔ เป็น
ประโยชน์แก่การพิจารณา ลดโทษให้กึ่งหนึ่ง คงจ าคุกจ าเลยที่ ๑ มีก าหนด ๓ เดือน จ าเลยที่ ๒ และที่ ๔
คนละ ๓ เดือน ปรับคนละ ๕,๐๐๐ บาท โทษจ าคุกของจ าเลยที่ ๒ และที่ ๔ ให้รอการลงโทษไว้
แม้ข้อเท็จจริงได้ความว่าจ าเลยที่ ๑ ที่ ๒ และที่ ๔ ร่วมกันท าร้ายร่างกายผู้เสียหายเป็นเหตุให้
ผู้เสียหายได้รับอันตรายแก่กายหรือจิตใจกล่าวคือ ผู้เสียหายมีรอยฟกช้ าที่โหนกแก้มซ้าย มีบาดแผลฉีกขาด
ที่เหนือคิ้วขวายาว ๓ เซนติเมตร และมีบาดแผลที่หางคิ้วซ้ายยาวครึ่งเซนติเมตร แต่ในการใช้ดุลพินิจลงโทษ
จ าเลยแต่ละคนให้เหมาะสมกับความผิดที่กระท า ศาลฎีกาย่อมมีอ านาจลงโทษให้ลดหลั่นกันได้โดยค านึงถึง
พฤติการณ์แห่งคดี รวมทั้งความร้ายแรงแห่งการกระท าของจ าเลยแต่ละคนซึ่งแตกต่างกันไป รวมทั้ง
บาดแผลของผู้เสียหายอันเกิดจากการกระท าของจ าเลยประกอบด้วย เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่าจ าเลยที่ ๑
ใช้ขวดเบียร์ตีที่บริเวณหางคิ้วขวาของผู้เสียหายจนเป็นแผลฉีกขาด เห็นได้ว่าการกระท าของจ าเลยที่ ๑ เป็น
พฤติการณ์ที่ร้ายแรง สมควรลงโทษให้หลาบจ า ที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาลงโทษจ าคุกจ าเลยที่ ๑ โดยไม่รอ
การลงโทษจ าคุกให้ ศาลฎีกาเห็นพ้องด้วย แต่ที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาจ าคุกจ าเลยที่ ๑ มีก าหนด ๑ ปี ก่อน
ลดโทษให้เป็นการใช้ดุลพินิจลงโทษที่หนักเกินไป ศาลฎีกาเห็นสมควรก าหนดโทษเสียใหม่ให้เหมาะสมกับ
พฤติการณ์แห่งคดี ส่วนจ าเลยที่ ๒ และที่ ๔ เพียงแต่เข้าร่วมรุมท าร้ายร่างกายผู้เสียหายโดยไม่ได้ใช้อาวุธ
อีกทั้งผู้เสียหายมีเพียงร่องรอยฟกช้ าตามใบหน้าเท่านั้น ศาลฎีกาเห็นสมควรก าหนดโทษเสียใหม่และรอการ
ลงโทษจ าคุกให้จ าเลยที่ ๒ และที่ ๔ เพื่อเปิดโอกาสให้จ าเลยที่ ๒ และที่ ๔ กลับตนเป็นพลเมืองดีต่อไป
๕๙๐๖/๒๕๕๖ มีความผิดตาม ป.อ มาตรา ๒๙๖ ประกอบมาตรา ๘๐ จ าคุก ๖ เดือน และปรับ
๔,๐๐๐ บาท โทษจ าคุกรอการลงโทษและให้คุมความประพฤติ
ไม่ปรากฏว่าจ าเลยเคยได้รับโทษจ าคุกมาก่อน จึงยังอยู่ในวิสัยที่จ าเลยจะแก้ไขฟื้นฟูให้กลับตัวเป็น
พลเมืองดีได้ ทั้งโทษจ าคุกตามค าพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค ๘ เป็นโทษจ าคุกระยะสั้น นอกจากจะไม่เกิดผล
ในการแก้ไขฟื้นฟูความประพฤติของจ าเลยแล้ว ยังท าให้จ าเลยมีประวัติเสื่อมเสีย เมื่อพ้นโทษแล้วอาจท าให้
จ าเลยยากที่จะประกอบสัมมาชีพเลี้ยงตนเองและครอบครัวโดยสุจริตต่อไป การรอการลงโทษและคุมความ
ประพฤติของจ าเลยน่าจะเป็นผลดีแก่จ าเลยและสังคมมากกว่า แต่เพื่อให้จ าเลยหลาบจ าเห็นสมควรให้
ลงโทษปรับจ าเลยอีกสถานหนึ่ง
๘๖๖๓/๒๕๕๙ มีความผิดตาม ป.อ มาตรา ๒๙๗ (๘) ๓๗๑ รับสารภาพ ลดโทษให้กึ่งหนึ่ง คงปรับ
๕๐ บาท รอการก าหนดโทษจ าเลยในความผิดตาม ป.อ มาตรา ๒๙๗ (๘) กับให้คุมความประพฤติ