Page 9 - แนวคำพิพากษาศาลฎีกาเกี่ยวกับดุลพินิจในการรอหรือไม่รอการลงโทษหรือกำหนดโทษ
P. 9

7




                         ๖๘๒๗-๖๘๒๘/๒๕๖๑ มีความผิดตาม ป.อ มาตรา ๒๘๘ ประกอบมาตรา ๘๐, ๘๓ และมาตรา

                                                                                                     ุ
               ๗๒ มาตรา ๓๗๑ ทางน าสืบของจ าเลยเป็นประโยชน์แก่การพิจารณา ลดโทษให้หนึ่งในสาม คงจ าคก ๑ ปี
               ๔ เดือน และปรับ ๖๐ บาท


                         จ าเลยใช้มีดฟันโจทก์ร่วมหลายครั้งในขณะที่โจทก์ร่วมหมดหนทางต่อสู้ ซึ่งหากแพทย์รักษาไม่ทัน
               โจทก์ร่วมคงถึงแก่ความตาย พฤติการณ์ของจ าเลยนับว่าร้ายแรง ที่ศาลอุทธรณ์ภาค ๑ ไม่รอการลงโทษ

               ให้แก่จ าเลยนับว่าเหมาะสมแล้ว ไม่มีเหตุที่ศาลฎีกาจะเปลี่ยนแปลงแก้ไข แต่อย่างไรก็ตามการที่โจทก์ร่วม

               เป็นฝ่ายก่อเหตุและจ าเลยได้ชดใช้ค่าเสียหายให้แก่โจทก์ร่วมก่อนศาลชั้นต้นพิพากษาเป็นเงิน ๓,๐๐๐ บาท
               และในระหว่างฎีกาอีกเป็นเงิน ๒๐,๐๐๐ บาท เพื่อบรรเทาผลร้าย จึงมีเหตุควรปรานีที่จะลงโทษจ าคุกใน

               สถานเบากว่าที่ศาลอุทธรณ์ภาค ๑ ก าหนด

                         ๓๙๕/๒๕๖๒ มีความผิดตาม ป.อ ๒๘๘ ประกอบมาตรา ๘๐ รับสารภาพ ลดโทษกึ่งหนึ่ง คงจ าคุก

               ๕ ปี


                         การที่จ าเลยใช้อาวุธมีดปลายแหลมแทงที่หลังผู้เสียหายซึ่งมีอวัยวะส าคัญอยู่ภายในจนผู้เสียหาย
               ได้รับบาดเจ็บมีบาดแผลลึกถึงเยื่อหุ้มปอด มีเลือดออกในช่องเยื่อหุ้มปอด เกิดความดันต่ าเป็นอันตรายถึงแก่

               ชีวิตได้ ลักษณะการกระท าความผิดของจ าเลยดังกล่าวเป็นไปโดยอุกอาจ ไม่เคารพย าเกรงต่อกฎหมาย
               พฤติการณ์แห่งคดีเป็นเรื่องร้ายแรง แม้จ าเลยอ้างว่าส านึกผิดและชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ผู้เสียหายจน

               ผู้เสียหายไม่ติดใจด าเนินคดีแก่จ าเลยหรือมีภาระต้องอุปการะเลี้ยงดูบุคคลในครอบครัว หรือมีเหตุอื่นดังที่

               อ้างมาในฎีกาก็ยังไม่เป็นเหตุผลเพียงพอที่จะรับฟังเพื่อรอการลงโทษจ าคุกให้แก่จ าเลย

                         ๘๑๒/๒๕๖๒ มีความผิดตาม ป.อ มาตรา ๒๙๑ (เดิม) ๓๐๐ (เดิม) ๓๙๐ พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ.

               ๒๕๒๒ มาตรา ๔๓ (๔) ๑๕๗ รับสารภาพ ลดโทษให้กึ่งหนึ่ง คงจ าคุก ๙ เดือน

                         แม้จ าเลยขับรถกระบะสี่ล้อไม่ใช่รถนยนต์ขนาดใหญ่ แต่จ าเลยรถขับด้วยความเร็วสูงเกินสมควร ไม่

               ชะลดความเร็วให้ช้าลงทั้งที่บริเวณสถานที่เกิดเหตุเป็นทางร่วมทางแยกและเขตชุมชนที่มีผู้ใช้รถใช้ถนน

               จ านวนมาก แล้วยังมีเส้นทึบสีเหลืองแสดงเขตห้ามแซงอีกด้วย แม้โจทก์ร่วมที่ ๑ ขับรถจักรยานยนต์มีโจทก์
               ร่วมที่ ๒ ที่ ๒ และเด็กหญิง ล. ผู้ตายนั่งโดยสารมาด้วย ซึ่งอาจท าให้ขาดประสิทธิภาพในการควบคุม

               รถจักรยานยนต์และเป็นการนั่งซ้อนท้ายที่ไม่ชอบตามกฎหมายว่าด้วยการจราจรทางบก แต่โจทก์ร่วมที่ ๑
               ขับรถจักรยานยนต์อยู่บริเวณเส้นแบ่งทางเดินรถซึ่งเป็นเส้นทึบสีเหลืองแสดงเขตห้ามแซงข้างหน้ารถกระบะ

               อีกคันหนึ่งซึ่งแล่นอยู่ข้างหน้ารถยนต์ของจ าเลยและเปิดสัญญาณไฟเลี้ยวขวาเข้าถนนแยกบ้านเคียน ถ้า

                                                                                          ่
               จ าเลยไม่เร่งเครื่องยนต์แซงรถกระบะคันดังกล่าวล้ าเช้าไปในช่องเดินรถด้านขวาก็จะไมเฉี่ยวชน
               รถจักรยานยนต์ที่โจทก์ร่วมที่ ๑ ขับจนล้มลงและถูกลากเข้าไปอยู่ใต้ท้องรถยนต์ของจ าเลย การที่ผู้ตายถึง

               แก่ความตาย โจทก์ร่วมที่ ๑ และที่ ๓ ได้รับอันตราย และโจทก์ร่วมที่ ๒ ได้รับอันตรายสาหัส ไม่ใช่ผล
               โดยตรงจากการที่โจทก์ร่วมที่ ๑ ขับรถจักรยานยนต์มีคนนั่งซ้อนท้ายเกินกว่าที่กฎหมายกาหนด พฤติการณ์
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14