Page 260 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 260
ประค�าไก่
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
สกุล Argostemma อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Rubioideae มีประมาณ 100 ชนิด ส่วนมาก
พบในเอเชีย มีในแอฟริกา 2 ชนิด ในไทยมีประมาณ 30 ชนิด ชื่อสกุลมาจาก
ภาษากรีก “argos” สีขาว และ “stemma” พวงดอกไม้ หมายถึงช่อดอกไม้สีขาว
ประดับหิน
Argostemma rotundicalyx Sridith
ไม้ล้มลุก สูง 5-12 ซม. ใบมี 2-3 คู่ รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 2.4-9 ซม.
แผ่นใบมีขนด้านบนและเส้นแขนงใบด้านล่าง ไร้ก้านหรือมีก้านยาวได้ถึง 2 มม.
ประกายแสด: ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง มีหลายช่อ ผลจักเป็นพู มีขนต่อมสีส้มแล้วเปลี่ยนเป็นสีเขียว (ภาพดอก: ดอยตุง ช่อดอกแบบช่อกระจุกปลายม้วน มี 2-4 ดอก ก้านช่อยาว 3-5 ซม. ใบประดับ
เชียงราย - MB; ภาพผล: แม่วงก์ ก�าแพงเพชร - TB) มี 1 คู่ รูปรี ยาวประมาณ 2.5 มม. ก้านดอกยาว 0.5-1.2 ซม. กลีบเลี้ยงจักตื้น ๆ
ประคำาไก่ ดอกรูปดาว มี 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยมแคบ ยาว 1-1.2 ซม. อับเรณูติดกันเป็นรูปกรวย
แตกตามยาว ยาว 4-5 มม. ปลายมีรยางค์ยาว ก้านเกสรเพศเมียยาว 0.8-1 ซม.
Putranjiva roxburghii Wall. ยื่นเลยอับเรณู ผลเกลี้ยง
วงศ์ Putranjivaceae พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคใต้ที่สุราษฎร์ธานี กระบี่ พังงา ขึ้นบนหินปูน
ชื่อพ้อง Drypetes roxburghii (Wall.) Hurus. ในป่าดิบชื้น ความสูง 100-250 เมตร
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. แยกเพศต่างต้น หูใบ 2 อัน ขนาดเล็ก ใบเรียงสลับ
ระนาบเดียว รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 4-14 ซม. โคนเบี้ยว ขอบจักฟันเลื่อย ประดับหินกลีบพับ
ก้านใบยาว 0.5-1 ซม. ดอกออกเป็นกระจุกสีเขียวอมเหลือง กลีบเลี้ยงขนาดไม่
เท่ากัน เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-2 มม. ไม่มีกลีบดอก ช่อดอกเพศผู้ไร้ก้านหรือก้านช่อ Argostemma lobulatum Craib var. variabile Sridith
ยาว 1-3 ซม. ก้านดอกสั้น กลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ ขอบมีขนครุย เกสรเพศผู้ 3-4 อัน ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 25 ซม. ใบมี 1-6 คู่ เรียงชิดกัน ใบตรงข้ามขนาดต่างกันมาก
ก้านชูอับเรณูสั้น ไม่มีจานฐานดอก ดอกเพศเมียออกเป็นกระจุก 1-4 ดอก รูปไข่ รูปขอบขนาน รูปใบหอก หรือรูปใบหอกกลับ ยาว 3-20 ซม. ใบขนาดเล็ก
ก้านดอกยาว 0.5-1.5 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รังไข่มีขนหนาแน่น มี 2 ช่อง แต่ละช่อง ยาวประมาณ 3 มม. เกลี้ยงหรือมีขนด้านบน ไร้ก้าน ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง
มีออวุล 2 เม็ด เกสรเพศเมียแยก 2-3 แฉก โค้งงอกลับ ติดทน มีปุ่มเล็ก ๆ กระจาย หรือคล้ายช่อซี่ร่ม มีได้ถึง 16 ดอก ใบประดับส่วนมากมี 5 ใบ รูปไข่หรือแกม
ผลผนังชั้นในแข็ง รูปรีกว้าง ยาว 1.5-2.7 ซม. มีเมล็ดเดียว รูปสามเหลี่ยม ยาวได้ถึง 6 มม. โคนเชื่อมติดกัน ก้านดอกสั้นหรือยาวได้ถึง 1.5 ซม.
พบที่อินเดีย ปากีสถาน บังกลาเทศ เนปาล ศรีลังกา ลาว กัมพูชา ชวา นิวกินี กลีบเลี้ยงจักตื้น ๆ ดอกรูประฆัง หลอดกลีบดอกยาว 2-3 มม. มี 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม
หมู่เกาะซุนดาน้อยและโมลุกกะ ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตามป่า ยาว 2-5 มม. พับงอกลับ อับเรณูติดกันคล้ายโคน ยาวประมาณ 2 มม. แตกตามยาว
เบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง บนเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 600 เมตร ใบและผล ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 5 มม. ผลเกลี้ยงหรือมีขนประปราย
มีสรรพคุณรักษาโรคปวดตามข้อ แก้ไข้และแก้หวัด พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคใต้ที่ประจวบคีรีขันธ์ ระนอง สุราษฎร์ธานี
กระบี่ ตรัง ขึ้นบนหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร ส่วน var. lobulatum
สกุล Putranjiva Wall. เคยอยู่ภายใต้สกุล Drypetes ภายใต้วงศ์ Euphorbiaceae
พบเฉพาะในเอเชีย มี 4 ชนิด ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษาสันสกฤต ช่อดอก ก้านดอก และกลีบเลี้ยงมีขนสั้นนุ่ม พบที่เขาหลวง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
“putra” บุตรชาย และ “juvi” รุ่งเรือง หมายถึงไทรย้อย Ficus benjamina L.
อาจหมายถึงมีลูกดกเหมือนไทรย้อย ประดับหินกาบหอย
Argostemma pictum Wall.
เอกสารอ้างอิง
Phuphathanaphong, L. and K. Chayamarit. (2005). Euphorbiaceae (Drypetes). ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 12 ซม. ล�าต้นมีขน ใบเรียงตรงข้ามชิดกัน 2-3 คู่ รูปไข่กว้าง
In Flora of Thailand Vol. 8(1): 249-252. บางครั้งขนาดไม่เท่ากัน ยาว 1.3-9.5 ซม. แผ่นใบด้านบนมีปื้นขาวตามเส้นกลาง
ใบและเส้นแขนงใบ แผ่นใบด้านล่างมีขน ไร้ก้าน ช่อดอกคล้ายช่อซี่ร่ม มี 4-20 ดอก
ก้านช่อยาว 5-10 ซม. เกลี้ยง ใบประดับ 4-5 ใบ รูปใบหอก ยาว 2.5-5 มม.
ขอบมีขน โคนเชื่อมติดกัน ก้านดอกเกลี้ยง ยาว 0.5-1 ซม. กลีบเลี้ยงยาวประมาณ
1 มม. ดอกรูปดาว มี 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยมแคบ ยาว 4-5 มม. ม้วนงอกลับ
อับเรณูติดกันรูปกรวย ยาว 2.5-3.5 มม. แตกตามยาว ก้านเกสรเพศเมียยาว
5-6 มม. ผลเกลี้ยง
พบที่พม่าตอนล่าง และคาบสมุทรมลายู ในไทยพบทางภาคใต้ ขึ้นตามโขดหิน
ประค�าไก่: ใบเรียงสลับระนาบเดียว โคนเบี้ยว ขอบจักฟันเลื่อย ดอกออกเป็นกระจุกสีเขียวอมเหลือง ผลรูปรีกว้าง
เกสรเพศเมียติดทน (ภาพ: ชะอ�า เพชรบุรี - SR) ในป่าดิบชื้น ความสูง 100-400 เมตร คล้ายกับจอกหิน A. neurocalyx Miq. ที่
ใบมักมีปื้นขาวตามเส้นใบ แต่จอกหินดอกรูประฆัง
ประดับหิน, สกุล
Argostemma Wall. ประดับหินช่อพวง
วงศ์ Rubiaceae Argostemma neurosepalum Bakh. f.
ไม้ล้มลุก มีเหง้าหรือหัวใต้ดิน ใบเรียงตรงข้าม มักเรียงชิดกันคล้ายเรียงรอบข้อ ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 20 ซม. หูใบรูปไข่ ยาวได้ถึง 1 ซม. ใบมี 2-4 คู่ รูปขอบขนาน
บางครั้งใบตรงข้ามขนาดไม่เท่ากัน หูใบร่วมติดทนหรือร่วงเร็ว ปลายส่วนมาก ถึงรูปใบหอก ยาว 2.5-10 ซม. แผ่นใบมีขนทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 0.3-2 ซม.
แยกเป็นแฉก ช่อดอกออกที่ปลายกิ่งแบบช่อกระจุก ปลายม้วน หรือคล้ายช่อซี่ร่ม ช่อดอกวงแถวคู่คล้ายช่อซี่ร่ม ก้านช่อยาว 1-12 ซม. มีขนสั้นนุ่ม มี 6-16 ดอก
บางครั้งมีดอกเดียว ใบประดับบางครั้งเชื่อมติดกัน หลอดกลีบเลี้ยงสั้น มี 4-5 กลีบ ก้านดอกสั้นหรือยาวได้ถึง 1 ซม. กลีบเลี้ยงมีขน กลีบยาวประมาณ 1.5 มม. ดอกรูป
ติดทน ดอกรูปดาวหรือรูประฆัง สีขาว หลอดกลีบดอกสั้น มี 4-5 กลีบ เรียงจรดกัน ระฆัง หลอดกลีบกว้าง ยาวประมาณ 2 มม. กลีบดอก 4 กลีบ ปลายกลีบพับงอกลับ
บิดเวียนในตาดอก เกสรเพศผู้เท่าจ�านวนกลีบดอก ติดใกล้โคนหลอดกลีบ ส่วนมาก ยาวประมาณ 1.5 มม. อับเรณูแยกกัน ยาวประมาณ 2 มม. ก้านเกสรเพศเมียยาว
ยื่นพ้นปากหลอด ก้านชูอับเรณูแยกหรือเชื่อมติดกันที่โคน อับเรณูแยกหรือติดกัน 1-1.5 มม. ผลมีขนสั้นนุ่ม
รูปกรวย แตกตามยาวหรือมีรูเปิดที่ปลาย รังไข่ 2 ช่อง ออวุลจ�านวนมาก พลาเซนตา
รอบแกนร่วม ยอดเกสรเพศเมียเป็นตุ่ม รูปโล่หรือจัก 2 พู ผลแห้งแตก กลม ๆ พบที่คาบสมุทรมลายู ในไทยพบทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นบน
มีฝาเปิด เมล็ดขนาดเล็ก จ�านวนมาก ผิวเป็นร่างแห ก้อนหินที่ชื้น ความสูง 100-300 เมตร
240
58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd 240 3/1/16 5:51 PM