Page 262 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 262
ประดู่
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
เอกสารอ้างอิง
Niyomdham, C., P.H. Hô., P. dy Phon and J.E. Vidal. (1997). Leguminosae-
Papilionoideae, Dalbergieae. Flore du Cambodge, Laos et du Vietnam 29:
154-160.
ประดับหินใบเข็ม: หูใบและใบดูคล้ายเรียงรอบข้อ ใบตรงข้ามขนาดไม่เท่ากัน ช่อดอกแบบช่อกระจุก มี 1-5 ดอก
ดอกรูปดาว มี 5 กลีบ (ภาพ: น�้าตกพาเจริญ ตาก - RP)
ประดู่: ช่อดอกแบบช่อกระจะมักแยกแขนง ส่วนมากออกตามซอกใบ ใบเรียงสลับระนาบเดียว รูปขอบขนานหรือ
แกมรูปไข่ ผลแห้งไม่แตกมีปีกรอบ (ภาพ: มวกเหล็ก สระบุรี - PT)
ประดับหินใบเดี่ยว: ใบมี 1-2 คู่ มีใบใหญ่ใบเดียว ช่อดอกคล้ายช่อกระจุกหรือช่อซี่ร่ม ดอกรูปดาว มี 5 กลีบ อับเรณู
ติดกันเป็นรูปกรวย ปลายมีรยางค์สั้น ๆ (ภาพ: เขาใหญ่ นครนายก - RP)
ประดู่บ้าน: ใบรูปรีหรือรูปไข่ ผลแห้งไม่แตกมีปีกรอบขนาดเล็ก (ภาพ: cultivated - PT)
รักตจันทน์: ปลายใบเว้า (ภาพ: cultivated - PT)
ประดับหินม่วง: แผ่นใบเกลี้ยง ช่อดอกแบบช่อกระจุก ก้านดอกมีขนหนาแน่น ดอกรูปดาว มี 5 กลีบ อับเรณูโค้ง ประดู่แดง
สีน�้าเงิน (ภาพ: เขาพนมเบญจา กระบี่ - RP)
Barnebydendron riedelii (Tul.) J. H. Kirkbr.
ประดู่ วงศ์ Fabaceae
Pterocarpus macrocarpus Kurz ชื่อพ้อง Phyllocarpus riedelii Tul., P. septentrionalis Donn. Sm.
วงศ์ Fabaceae ไม้ต้น อาจสูงได้ถึง 30 ม. หูใบรูปเคียว ยาว 1-2.5 ซม. ร่วงเร็ว ใบประกอบ
ไม้ต้น สูงได้ถึง 35 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งและใบอ่อน ช่อดอก ก้านดอก กลีบเลี้ยง ยาว 6-23 ซม. มีขนละเอียด ก้านยาว 1-2 ซม. ใบย่อยมี 3-6 คู่ รูปไข่หรือแกม
และรังไข่ หูใบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบประกอบเรียงเวียน ยาว 8-25 ซม. ใบย่อยมี รูปขอบขนาน ยาวได้ถึง 6 ซม. เบี้ยว ก้านใบย่อยยาว 1-2 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ
5-13 ใบ เรียงสลับระนาบเดียว รูปขอบขนานหรือแกมรูปไข่ ยาว 2.5-11 ซม. ออกเป็นกระจุกสั้น ๆ 3-5 ช่อ หนาแน่นตามกิ่ง หรือยาวได้ถึง 17 ซม. ส่วนต่าง ๆ
ปลายแหลมยาว ก้านใบย่อยยาว 3-8 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจะมักแยกแขนง ของดอกสีแดง ใบประดับและใบประดับย่อยรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ร่วงเร็ว
ส่วนมากออกตามซอกใบ ยาวได้ถึง 15 ซม. ใบประดับย่อยรูปลิ่มแคบ ติดที่โคน ก้านดอกยาว 0.5-1.4 ซม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปเรือ ยาวไม่เท่ากัน ยาว 2-8 มม.
กลีบเลี้ยง ก้านดอกยาว 0.8-1.5 ซม. มีข้อ หลอดกลีบเลี้ยงยาว 4-6 มม. ปลายจักตื้น ๆ เรียงซ้อนเหลื่อม กลีบดอก 3 กลีบ รูปเรือ ปลายมน ยาว 0.6-1 ซม. มีก้าน กลีบ
5 แฉก คล้ายรูปปากเปิด คู่บนเชื่อมติดกัน ดอกรูปดอกถั่ว สีเหลือง ยาว 0.7-1.5 ซม. ลดรูป 2 กลีบ ยาว 1-2 มม. เกสรเพศผู้ 10 อัน โคนเชื่อมติดกัน 0.2-1 ซม. อับเรณู
รวมก้านกลีบ กลีบกลางรูปไข่กว้าง ปลายเว้าตื้น กลีบปีกและกลีบคู่ข้างรูปขอบขนาน ติดไหวได้ ก้านชูอับเรณูยาวไม่เท่ากัน ยาว 1.5-2 ซม. รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมีย
เกสรเพศผู้ 10 อัน เชื่อมติดกันกลุ่มเดียวหรือสองกลุ่ม อับเรณูติดไหวได้ รังไข่มี ยาว 1.2-2.5 ซม. ยอดเกสรเป็นตุ่ม ฝักรูปขอบขนาน ยาว 15-17 ซม. มี 1-3 เมล็ด
2-6 ช่อง มีก้าน ก้านเกสรเพศเมียยาว 6-9 มม. ยอดเกสรเป็นตุ่ม ผลแห้งไม่แตก รูปไข่ แบน ๆ ยาว 2.5-4 ซม.
มีปีกรอบ เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-9 ซม. ก้านผลยาว 1-1.5 ซม. มีเมล็ดเดียว รูปคล้ายไต มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกากลางและอเมริกาใต้ เป็นไม้ประดับทั่วไปในเขตร้อน
ยาว 6-9 มม. ขั้วเมล็ดขนาดเล็ก
สกุล Barnebydendron J. H. Kirkbr. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Caesalpinioideae เผ่า
พบที่พม่าและภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตาม Detarieae เดิมใช้ชื่อสกุล Phyllocarpus Riedel ex Tul. ซึ่งไปซ้ำากับ Phyllocarpus
ป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร Riedel ex Endl. มีเพียงชนิดเดียว ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวบริติช
Rupert C. Barneby (1911-2000) ทำางานที่สวนพฤกษศาสตร์นิวยอร์ก
สกุล Pterocarpus Jacq. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Faboideae เผ่า Dalbergieae มี
35-40 ชนิด พบในอเมริกาเขตร้อน แอฟริกา และเอเชีย แต่ส่วนมากพบใน เอกสารอ้างอิง
แอฟริกา ในไทย มี 2 ชนิด อีกชนิดคือประดู่บ้านหรืออังสนา P. indicus Willd. Kirkbride, J.H., Jr. (1999). Barnebydendron, a new generic name (Fabaceae,
ใบรูปรีหรือรูปไข่ แผ่นใบเกือบเกลี้ยง ผลเส้นผ่านศูนย์กลางสั้นกว่าประดู่ ส่วนมาก Caesalpinioideae, Detarieae, Brownea Group). Sida 18(3): 815-818.
พบเป็นไม้สองข้างถนน และมีชนิดที่นำาเข้ามาปลูกที่มวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae.
In Flora of Thailand Vol. 4(1): 129.
อีกชนิดคือ รักตจันทน์ P. santalinus L. f. ปลายใบเว้า พืชถิ่นเดียวของอินเดีย Warwick, M.C., G.P. Lewis and H.C. de Lima. (2008). A reappraisal of Barneby-
เป็นพืชในบัญชีที่ 2 ของ CITES มีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง ชื่อสกุลมาจาก dendron (Leguminosae: Caesalpinioideae: Detarieae). Kew Bulletin 63(1):
ภาษากรีก “pteron” ปีก และ “carpos” ผล ตามลักษณะผลมีปีกรอบ 143-149.
242
58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd 242 3/1/16 5:51 PM