Page 266 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 266
ปลายสาน
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
สกุล Eurya เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Theaceae วงศ์ย่อย Ternstroemioideae ปลาไหลเผือก, สกุล
ปัจจุบันอยู่ภายใต้เผ่า Freziereae ร่วมกับสกุล Adinandra มีประมาณ 130 ชนิด Eurycoma Jack
พบในเอเชียโดยเฉพาะในจีน ในไทยมี 2 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “eurys”
กว้างหรือใหญ่ อาจหมายถึงใบที่แผ่กว้าง วงศ์ Simaroubaceae
ไม้พุ่มเตี้ยหรือไม้ต้นขนาดเล็ก แยกเพศร่วมต้นหรือต่างต้น ไม่มีหูใบ ใบประกอบ
ปลายสาน ปลายคี่ ใบย่อยเรียงตรงข้ามหรือเกือบตรงข้าม เส้นแขนงใบไม่ชัดเจน เรียงจรดกัน
Eurya cerasifolia (D. Don) Kobuski เป็นเส้นขอบใน ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกตามซอกใบ ใบประดับขนาดเล็ก
ชื่อพ้อง Diospyros cerasifolia D. Don, Eurya acuminata DC., E. acuminata ร่วงเร็ว ดอกมีเพศเดียวหรือสมบูรณ์เพศ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ
5-6 กลีบ เกสรเพศผู้เท่าจ�านวนกลีบดอก เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันติดระหว่างโคน
DC. var. wallichiana Dyer ก้านชูอับเรณู มี 5-6 คาร์เพล แยกกัน แต่ละคาร์เพลมีออวุล 1 เม็ด ก้านเกสรเพศเมีย
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ตาที่ยอดมีขนยาว มีขนสั้ันนุ่มตามก้านใบ ติดกันตอนปลาย ยอดเกสรรูปโล่ จัก 5-6 พู ผลผนังชั้นในแข็ง มี 1-5 ผลย่อย
แผ่นใบด้านล่าง ก้านดอก และกลีบเลี้ยงด้านนอก ใบรูปขอบขนาน รูปใบหอก
หรือแกมรูปไข่ ยาว 4.5-9 ซม. ปลายแหลมยาวหรือยาวคล้ายหาง ก้านใบยาว สกุล Eurycoma มี 3 ชนิด พบเฉพาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในไทยมี
1-6 มม. ดอกออกเป็นกระจุก 1-3 ดอก ก้านดอกยาว 2-3 มม. กลีบดอกรูปรีกว้าง 2 ชนิด ชื่อสกุล มาจากภาษากรีก “eurys” กว้างหรือใหญ่ และ “kome” ขน
ยาว 1-2 มม. กลีบดอกรูปไข่กลับ ยาว 2.5-4 มม. เกสรเพศผู้มี 15-20 อัน รังไข่มี หมายถึงดอกที่ออกเป็นช่อขนาดใหญ่แน่นเป็นกระจุก
3 ช่อง เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียยาว 2-3 มม. แยก 3 แฉก ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง
4-5 มม. ปลาไหลเผือก
พบที่อินเดีย ภูฏาน เนปาล ศรีลังกา พม่า จีนตอนใต้ เวียดนาม คาบสมุทรมลายู Eurycoma longifolia Jack
สุมาตรา และชวา ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา ความสูงถึง ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. ใบประกอบยาวได้กว่า 1 ม. เรียงหนาแน่นช่วงปลายกิ่ง
ประมาณ 2100 เมตร ใบเคี้ยวบรรเทาอาการไอ แก้ปวดท้อง ท้องเสีย และบิด ใบย่อยจ�านวนมาก รูปใบหอก รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่ ยาว 5-20 ซม. โคนเบี้ยว
ก้านสั้นมากหรือไร้ก้าน ช่อดอกขนาดใหญ่ มีขนละเอียดและขนต่อมกระจาย
ปลายสาน ดอกสีแดง ก้านดอกหนา ยาวประมาณ 7 มม. กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ
Eurya nitida Korth. 1 มม. กลีบดอกรูปใบหอก รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่ ยาว 4-5 มม. มีขนละเอียด
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. ตาที่ยอดเกลี้ยง กิ่งเป็นเหลี่ยม ใบรูปรี รูป เกสรเพศผู้ยาว 1.5-2.5 มม. เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันยาวได้ถึง 2 มม. ในดอกเพศเมีย
สั้นมาก ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ติดเหนือรังไข่ประมาณ 1 มม. ยาวประมาณ
ขอบขนาน หรือแกมรูปไข่ ยาว 3-13 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว ขอบจักหรือ 2 มม. ผลย่อยรูปรีหรือรูปไข่ ยาว 1-2 ซม. ก้านผลยาวประมาณ 3 มม.
เกือบเรียบ แผ่นใบเกลี้ยง ก้านใบยาว 2-5 มม. ดอกออกเป็นกระจุก 1-4 ดอก
ก้านดอกยาว 2-3 มม. กลีบดอกรูปไข่กว้าง ยาว 1-2 มม. กลีบดอกรูปไข่ ยาว 2-4 มม. พบที่พม่า ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมาเลเซีย สุมาตรา และบอร์เนียว ในไทย
เกสรเพศผู้มี 12-20 อัน รังไข่มี 3 ช่อง เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียยาว 1.5-3 มม. พบทุกภาค ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ
แยกเป็น 2-3 แฉก ผลรูปรีกว้าง ยาวประมาณ 3.5 มม. 700 เมตร มีสรรพคุณช่วยเพิ่มสมรรถภาพทางเพศ แยกเป็น subsp. eglandulosa
พบที่อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้ ไห่หนาน พม่า ภูมิภาคอินโดจีน สุมาตรา ชวา (Merr.) Noot. พบในฟิลิปปินส์ ดอกและช่อดอกไม่มีขนต่อม กลีบดอกขนาดใหญ่กว่า
บอร์เนียว ฟิลิปปินส์ ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา
ความสูงถึงประมาณ 2100 เมตร แยกเป็น var. siamensis (Craib) H. Keng ปลาไหลเผือกเล็ก
ใบขนาดใหญ่กว่า น�้าคั้นจากใบใช้ประคบแก้บวม ปวดแสบปวดร้อน Eurycoma harmandiana Pierre
ไม้พุ่มเตี้ย สูงได้ถึง 30 ซม. ใบประกอบยาว 8-18 ซม. มีใบย่อย 2-5 คู่ รูปแถบ
เอกสารอ้างอิง
Keng, H. (1972). Theaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(2): 155-157. ยาว 3-7 ซม. โคนเบี้ยว ไร้ก้าน ช่อดอกยาวได้ถึง 15 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ไม่มีขนต่อม
Min, T. and B. Bartholomew. (2007). Theaceae. In Flora of China Vol. 13: 447, ดอกสีแดง ก้านดอกยาวประมาณ 5 มม. กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยม ยาว 1-1.5 มม.
464, 467. กลีบดอกรูปขอบขนาน ยาว 3-3.5 มม. มีขนสั้นนุ่ม เกสรเพศผู้ 5 อัน ยาวประมาณ
2 มม. มีขนสั้นนุ่ม ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ยอดเกสรรูปโล่ มี 1-5 ผลย่อย รูปรีแคบ
ยาวประมาณ 1 ซม. ก้านผลสั้น
พบที่ลาว และกัมพูชา ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนที่ภูวัว
จังหวัดบึงกาฬ และภาคตะวันออกที่อุบลราชธานี ขึ้นตามป่าเต็งรัง ความสูงถึง
ประมาณ 300 เมตร
เอกสารอ้างอิง
Nooteboom, H.P. (1962). Simaroubaceae. In Flora Malesiana Vol. 6: 205-207.
________. (1981). Simaroubaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(4): 443-445.
ปลายสาน: E. cerasifolia ตาที่ยอดมีขนยาว ปลายใบแหลมยาวหรือยาวคล้ายหาง ดอกออกเป็นกระจุก 1-3 ดอก
ก้านเกสรเพศเมียแยก 3 แฉก ติดทน (ภาพดอก: แม่เมย ตาก - RP; ภาพผลและภาพใบ: เขาใหญ่ ปราจีนบุรี - SR)
ปลาไหลเผือก: ช่อดอกขนาดใหญ่ ดอดสีแดง มี 1-5 ผลย่อย รูปรีหรือรูปไข่ ก้านผลยาว (ภาพซ้าย: cultivated - RP;
ปลายสาน: E. nitida ตาที่ยอดและแผ่นใบเกลี้ยง (ภาพ: เขาใหญ่ ปราจีนบุรี - SR)
ภาพขวา: ระนอง - NP; ภาพขวาล่าง : เชียงใหม่ - SSi)
246
58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd 246 3/1/16 5:53 PM