Page 269 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 269

ปอคัน                                                          สารานุกรมพืชในประเทศไทย  ปอต่อม
                    Malachra capitata (L.) L.
                    วงศ์ Malvaceae
                      ชื่อพ้อง Sida capitata L.
                       ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 2 ม. มีขนรูปดาวและขนสากกระจาย หูใบข้างละประมาณ
                    3 เส้น รูปแถบ ยาว 0.5-1.5 ซม. ใบรูปไข่กว้างหรือเกือบกลม จักเป็นพูตื้น ๆ
                    หรือรูปฝ่ามือ 3, 5 หรือ 7 พู เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-15 ซม. โคนเว้าลึก ขอบจัก ก้านใบ
                    ยาวได้ถึง 10 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น ออกสั้น ๆ ตามซอกใบ ใบประดับ
                    รูปไข่ ยาว 1-2 ซม. ขอบเรียบหรือจักซี่ฟันพับไปมา ไม่มีริ้วประดับ ใบประดับย่อย
                    มี 1 คู่ รูปเส้นด้าย ติดทน กลีบเลี้ยงรูประฆัง ยาว 4-8 มม. มี 5 แฉก ลึกประมาณ
                    กึ่งหนึ่ง ดอกสีเหลือง มี 5 กลีบ รูปไข่กลับ ยาว 1-1.5 ซม. ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกัน
                    เป็นเส้าเกสร ปลายแยกเป็น 5 แฉก มี 5 คาร์เพล ก้านเกสรเพศเมียแยก 10 แฉก
                                                                          ปอเจี๋ยน: ตาดอกรูปขอบขนาน กลีบดอกรูปใบพาย ก้านกลีบยาวกว่าแผ่นกลีบ เกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์มี 2-3 อัน
                    ผลแห้งแตก แต่ละซีกยาว 3-3.5 มม. เมล็ดรูปไข่กลับ ยาวประมาณ 2.5 มม.   ลดรูปมี 6-7 อัน จานฐานดอกเป็นท่อยื่นออก รังไข่มีขนสั้นนุ่มคล้ายก�ามะหยี่ (ภาพ: ชุมพร - RP)
                       มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกาใต้ ขึ้นเป็นวัชพืชทั่วไปในเขตร้อน เปลือกใช้ท�าเชือก
                    สารสกัดจากรากและใบใช้อาบท�าให้ผิวชุ่มชื้น           ปอตลับ
                                                                        Trichospermum javanicum Blume
                       สกุล Malachra L. มีประมาณ 12 ชนิด ส่วนมากพบในอเมริกา ในไทยขึ้นเป็น  วงศ์ Malvaceae
                       วัชพืชชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “malache” หมายถึงต้นชบาชนิดหนึ่ง
                       ใบมักเป็นแฉก                                        ไม้ต้น สูง 8-20 ม. ใบเรียงสลับระนาบเดียว รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว
                                                                        10-18 ซม. โคนใบตัดหรือเว้าตื้น ๆ ขอบจักฟันเลื่อยถี่ เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น
                      เอกสารอ้างอิง                                     เส้นแขนงใบย่อยแบบขั้นบันได ก้านใบยาว 1-1.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุก
                       Masters, M.T. (1874). Malvaceae. In Flora of British India Vol 1: 329.  ออกตามซอกใบ ยาว 5-10 ซม. ตาดอกรูปไข่ กลีบเลี้ยงขนาดเล็ก มี 5 กลีบ แยก
                       van Borssum Waalkes, J. (1996). Malesian Malvaceae revised. Blumea 14: 146.
                                                                        จรดโคน มีขนทั้งสองด้าน กลีบดอก 5 กลีบ รูปใบพาย ยาวประมาณ 1 ซม. โคนกลีบ
                                                                        มีต่อม เกสรเพศผู้ 5 อัน แยกกัน รังไข่มี 2 ช่อง มีขน ก้านเกสรเพศเมียแยก 2 แฉก
                                                                        ผลแห้งแตก แบน ๆ รูปคล้ายไต ยาว 2-2.5 ซม. ปลายมีติ่งแหลม เมล็ดมีขนยาว
                                                                           พบที่คาบสมุทรมลายู ชวา และสุมาตรา ในไทยพบทางภาคใต้ตอนล่าง ขึ้นตาม
                                                                        ป่าดิบชื้น และชายป่า ความสูงระดับต�่า ๆ

                                                                           สกุล Trichospermum Blume เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Tiliaceae ปัจจุบันอยู่วงศ์ย่อย
                                                                           Grewioideae มีประมาณ 20 ชนิด พบเฉพาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในไทยมี
                                                                           ชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “thrix” หรือ “trichos” ขน และ “sperma”
                                                                           เมล็ด ตามลักษณะของเมล็ดมีขน

                                                                          เอกสารอ้างอิง
                                                                           Phengklai, C. (1993). Tiliaceae. In Flora of Thailand Vol. 6(1): 40-41.

                      ปอคัน: ขอบใบจักเป็นพูตื้น ๆ หูใบรูปแถบ ใบประดับรูปไข่กว้าง ขอบจักพับไปมา ใบประดับย่อยรูปเส้นด้าย ติดทน
                    เส้าเกสรปลายแยกเป็น 5 แฉก ผลแห้งแตก (ภาพ: กรุงเทพฯ - RP)
                    ปอเจี๋ยน
                    Phanera bracteata Benth.
                    วงศ์ Fabaceae
                      ชื่อพ้อง Bauhinia bracteata (Benth.) Baker
                       ไม้เถาเนื้อแข็ง มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน เส้นแขนงใบด้านล่าง ก้านช่อดอก และ
                    ตาดอก หูใบเป็นติ่งคล้ายเคียว ยาวได้ถึง 1 ซม. ใบรูปไข่กว้างหรือกลม ยาว 3-15 ซม.
                    แฉกลึกไม่ถึงกึ่งหนึ่ง ปลายมน โคนเว้า เส้นโคนใบข้างละ 4-5 เส้น ก้านใบยาวได้ถึง
                    7 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ใบประดับรูปใบหอกหรือรูปไข่ ก้านดอกยาว 4-7 ซม.
                    ใบประดับย่อยติดประมาณกึ่งกลางก้านดอก ตาดอกรูปขอบขนาน ฐานดอกสั้น
                    กลีบเลี้ยง 5 กลีบ พับงอ ยาวเกือบ 1 ซม. ดอกสีเขียวอ่อนอมเหลือง กลีบรูปใบพาย   ปอตลับ: ใบเรียงสลับระนาบเดียว ขอบจักฟันเลื่อยถี่ เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น ผลรูปไต ปลายมีติ่งแหลม
                    ยาว 0.5-1.3 ซม. ขอบจักมน ก้านกลีบยาวกว่าแผ่นกลีบ เกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์ มี   (ภาพ: บันนังสตา ยะลา - MT)
                    2-3 อัน ก้านชูอับเรณูยาวได้ถึง 3.5 ซม. เกสรเพศผู้ที่ลดรูปมี 6-7 อัน อันยาวหนึ่งอัน  ปอต่อม
                    ติดระหว่างเกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์ จานฐานดอกเป็นท่อยื่นออก ยาว 2-4 มม. รังไข่
                    มีขนสั้นคล้ายก�ามะหยี่ ฝักรูปขอบขนาน มีขนก�ามะหยี่สีน�้าตาลหนาแน่น ยาวได้ถึง   Hibiscus glanduliferus Craib
                    17 ซม. มี 2-8 เมล็ด (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ แสลงพัน, สกุล)  วงศ์ Malvaceae
                       พบในพม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทุกภาค ภาคใต้ถึงชุมพร ขึ้นตาม  ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 3 ม. มีขนสั้นนุ่มและขนรูปดาวตามกิ่ง ก้านใบ และก้านดอก
                    ชายป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง หรือเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 500 เมตร  หูใบรูปขอบขนาน ยาวได้ถึง 1.5 ซม. ใบรูปรีหรือรูปไข่กว้างเกือบกลม ไม่จักเป็นพู
                                                                        ยาวได้ถึง 15 ซม. โคนเว้าลึก ขอบจักฟันเลื่อยซ้อน โคนเส้นกลางใบมีต่อมรูปไข่
                      เอกสารอ้างอิง                                     เส้นโคนใบข้างละ 2-3 เส้น ก้านใบยาว 1-5 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ
                       Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae.
                          In Flora of Thailand Vol. 4(1): 31.           หรือเรียงชิดกันช่วงปลายกิ่ง ก้านดอกยาว 1-2 ซม. ริ้วประดับ 10 อัน เชื่อมติดกัน

                                                                                                                    249






        58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd   249                                                                 3/1/16   5:54 PM
   264   265   266   267   268   269   270   271   272   273   274