Page 270 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 270
ปอเต่าไห้
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
4-6 มม. ริ้วประดับรูปใบหอก ยาวประมาณ 1 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงยาวประมาณ
1 ซม. กลีบรูปใบหอก ยาว 1.5-3 ซม. ดอกรูประฆังคว�่า สีเหลือง โคนกลีบด้านใน
สีน�้าตาลแดง กลีบรูปไข่กลับ ยาว 6-10 ซม. เส้าเกสรเพศผู้ยาวประมาณ 2 ซม.
อับเรณูติดตลอดความยาว ผลยาวประมาณ 2 ซม. ด้านนอกมีขนหยาบยาวหนาแน่น
(ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ชบา, สกุล และปอทะเล, สกุล)
พบเฉพาะในภูมิภาคอินโดจีน ในไทยส่วนมากพบทางภาคเหนือ และภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้นตามป่าเบญจพรรณหรือป่าเต็งรังที่แห้งแล้ง ความสูงถึง
ประมาณ 600 เมตร จากลักษณะทางสัณฐานที่หูใบมีขนาดใหญ่ ผลมีขนหนาแน่น
ซึ่งจะต้องถูกจัดอยู่สกุลปอทะเล Talipariti
เอกสารอ้างอิง
Craib, W.G. (1910). Craib. Bulletin of Miscellaneous Information Kew 1910:
275-276.
Phuphathanaphong, L., P. Siriruksa and G. Nuvongsri. (1989). The genus ปอเต่าไห้: ไม้พุ่มรอเลื้อย แตกกิ่งจ�านวนมาก กลีบดอกรูปลิ้น เกสรเพศผู้ 10 อัน เรียง 2 วง ผลรูปรี มีกลีบเลี้ยงที่
Hibiscus in Thailand. Thai Forest Bullettin (Botany) 18: 54-56. ฉีกขาดหุ้ม ใบประดับเรียงตรงข้าม ติดทน (ภาพ: บุรีรัมย์ - RP)
ปอเต่าไห้
Helicteres hirsuta Lour.
วงศ์ Malvaceae
ไม้พุ่ม สูง 1-5 ม. มีขนรูปดาวหนาแน่นตามกิ่ง และแผ่นใบทั้งสองด้าน ใบรูปรี
รูปไข่ หรือรูปขอบขนาน ยาว 5-20 ซม. โคนเบี้ยว ขอบใบจักฟันเลื่อย เส้นโคนใบ
ข้างละ 1-2 เส้น ก้านใบยาว 0.5-2.5 ซม. มีขนสั้นนุ่มหนาแน่น ช่อดอกแบบช่อกระจุก
คล้ายช่อเชิงลด ออกตามซอกใบ ยาวได้ถึง 3 ซม. ก้านดอกมีข้อ กลีบเลี้ยงยาว 1-1.5 ซม.
ด้านนอกมีขนละเอียด ดอกสีม่วงอมแดง กลีบรูปใบหอก ยาว 2-2.5 ซม. รังไข่เป็นสัน
มีขนเป็นตุ่ม ก้านเกสรเพศเมียยาวเท่า ๆ รังไข่ ยอดเกสรจัก 5 พู ผลรูปขอบขนาน
ยาว 3.5-4 ซม. มี 5 สัน ปลายเป็นจะงอย มีขนยาวและตุ่มหนาแน่น เมล็ดขนาดเล็ก
จ�านวนมาก (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ขี้อ้น, สกุล)
ปอต่อม: ใบไม่จักเป็นพู ขอบจักฟันเลื่อยซ้อน ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ ริ้วประดับ 10 อัน โคนกลีบดอกด้านใน พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ถึงฟิลิปปินส์ ใน
มีสีน�้าตาลแดง ผลแห้งแตกเป็น 5 ซีก ด้านนอกมีขนหยาบยาวหนาแน่น (ภาพ: บ้านตาก ตาก - RP) ไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูง
ถึงประมาณ 1000 เมตร
ปอเต่าไห้
Enkleia malaccensis Griff. เอกสารอ้างอิง
Phengklai. C. (2001). Sterculiaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(3): 566.
วงศ์ Thymelaeaceae Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Sterculiaceae. In Flora of China
ชื่อพ้อง Enkleia siamensis (Kurz) Nevling Vol. 12: 320.
ไม้พุ่มรอเลื้อยหรือไม้เถา ใบเรียงตรงข้ามหรือเรียงสลับ รูปรีหรือรูปไข่ ยาว
4-12 ซม. แผ่นใบด้านบนมีขนตามเส้นกลางใบ ด้านล่างมีขนสีน�้าตาลแดงประปราย
หนาแน่น หรือเกลี้ยง เส้นแขนงใบ 18-25 คู่ ก้านใบยาว 5-8 มม. ช่อดอกแบบ
ช่อแยกแขนง ช่อย่อยแบบช่อซี่ร่ม ก้านยาว 2-5 ซม. ใบประดับ 2 อัน ติดตรงข้ามกัน
รูปรีหรือรูปขอบขนาน มีขนสั้นนุ่มทั้งสองด้าน ขยายในผล ยาว 2-8 ซม. ดอกสีเขียว
อมเหลือง หลอดกลีบเลี้ยงยาว 5-8 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ยาว 2-4 มม. ติดทน
กลีบดอกรูปลิ้น โคนเว้า ยาวประมาณ 2.5 มม. เกสรเพศผู้ 10 อัน เรียง 2 วง
ก้านชูอับเรณูยาว 0.5-1.5 มม. รังไข่มีขนหนาแน่น ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ
2 มม. ยอดเกสรรูปโล่ ผลผนังชั้นในแข็ง รูปรี ยาว 1-1.5 ซม. มีกลีบเลี้ยงที่ฉีกขาดหุ้ม
เมล็ดรูปรี ยาว 6-8 มม. ปอเต่าไห้: ช่อดอกแบบช่อกระจุกคล้ายช่อเชิงลด ดอกสีม่วงอมแดง ผลรูปขอบขนาน ปลายเป็นจะงอยแหลมยาว
มีขนยาวและตุ่มหนาแน่น กลีบเลี้ยงติดทน (ภาพ: เขาสามหลั่น สระบุรี - RP)
พบที่หมู่เกาะอันดามัน พม่า ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และ
บอร์เนียว ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ และชายป่าดิบชื้น ปอทะเล, สกุล
ความสูงถึงประมาณ 500 เมตร รากมีสรรพคุณแก้ไข้ โรคฝีดาษหรือไข้ทรพิษ และงูกัด Talipariti Fryxell
เปลือกเหนียวใช้ท�าเชือก วงศ์ Malvaceae
สกุล Enkleia Griff. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Thymelaeoideae มี 3 ชนิด พบใน ไม้พุ่มหรือไม้ต้น หูใบขนาดใหญ่หุ้มตา ร่วงเร็ว ทิ้งรอยชัดเจน ใบเรียงเวียน
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และหมู่เกาะอันดามัน ในไทยมี 2 ชนิด อีกชนิด คือ เส้นแขนงใบรูปฝ่ามือ มีต่อมตามซอกใบ ช่อดอกออกตามซอกใบ มีดอกเดียวหรือ
E. thorelii (Lecomte) Nevling พืชถิ่นเดียวทางภาคตะวันออกของไทย เป็นไม้พุ่ม หลายดอก ริ้วประดับจักตื้น ๆ หรือเรียวยาว ส่วนมากมี 5-10 อัน กลีบเลี้ยงรูปถ้วย
ใบขนาดเล็ก และช่อดอกย่อยแบบช่อแยกแขนง ส่วน E. paniculata (Merr.) มี 5 กลีบ ดอกรูประฆัง โคนกลีบด้านในมักมีสีเข้ม เกสรเพศผู้เชื่อมติดกันเป็นเส้าเกสร
Hallier. f. พบที่ฟิลิปปินส์ และนิวกินี แผ่นใบบาง หลอดกลีบเลี้ยงบิดเป็นเกลียว สั้นกว่ากลีบดอก ปลายแยกเป็น 5 แฉกตื้น ๆ ก้านเกสรเพศเมียยาวเลยเส้าเกสร
ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “enkleio” หุ้ม ตามลักษณะผลที่มีกลีบเลี้ยงที่ฉีกขาดหุ้ม ยอดเกสรจัก 5 พู เป็นตุ่ม ผลแห้งแตกเป็น 5 ซีก ดูคล้ายมี 10 ช่อง ด้านนอกมีขน
เมล็ดจ�านวนมาก รูปคล้ายไต
เอกสารอ้างอิง
Hou, D. (1972). Thymelaeaceae. In Flora Malesiana Vol. 6: 23-26. สกุล Talipariti แยกมาจากสกุล Hibiscus จากลักษณะของหูใบ ผลแห้งแตก
Peterson, B. (1997). Thymelaeaceae (Enkleia siamensis). In Flora of Thailand เป็น 5 ซีก ดูคล้ายมี 10 ช่อง และโครโมโซมจำานวนมาก มี 22-23 ชนิด ส่วนมาก
Vol. 6(3): 233.
พบในอเมริกาเขตร้อน แอฟริกา เอเชียรวมถึงญี่ปุ่นและเกาหลี ออสเตรเลีย
250
58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd 250 3/1/16 5:54 PM