Page 275 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 275
ปออิน สารานุกรมพืชในประเทศไทย ปัตตาเวีย
Wikstroemia indica (L.) C. A. Mey.
ชื่อพ้อง Daphne indica L.
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 3 ม. ใบรูปใบหอก รูปขอบขนาน หรือรูปไข่กลับ ยาว 1.5-7 ซม.
ปลายส่วนมากมน กลมหรือแหลม ด้านบนสีเขียวเป็นมันเงา ด้านล่างสีเขียวซีด
ใบแห้งสีแดง ก้านใบยาว 1-2 มม. ช่อดอกคล้ายช่อเชิงลดสั้น ๆ ออกที่ปลายกิ่งหรือ
ตามซอกใบ ดอกเกือบไร้ก้านหรือยาว 1-3 มม. กลีบเลี้ยงสีเขียวอมเหลือง หลอดกลีบ ปัดน�้า: ใบแบบก้นปิด มีรยางค์เป็นต่อมขน ช่อดอกแบบวงแถวเดี่ยว กลีบเลี้ยงมีต่อมเหนียวกระจาย ติดทน กลีบดอก
ยาว 0.5-1.2 ซม. มีขนประปราย มี 4 แฉก ยาว 2-3 มม. เกสรเพศผู้ 8 อัน อับเรณู รูปไข่กลับ (ภาพ: ดอยเชียงดาว เชียงใหม่ - RP)
ยาวประมาณ 1 มม. จานฐานดอก 2 อัน รังไข่มีขนประปรายหรือเกลี้ยง ผลสด ปัตตาเวีย
มีหลายเมล็ด รูปรี ยาว 7-8 มม. สุกสีแดง เมล็ดรูปรี ยาวประมาณ 5 มม. Jatropha integerrima Jacq.
พบที่อินเดีย ศรีลังกา จีน ไต้หวัน ภูมิภาคมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ออสเตรเลีย และ วงศ์ Euphorbiaceae
ภาคใต้ของไทย ขึ้นกระจายห่าง ๆ ตามที่โล่งบนเขาหินปูน ความสูง 100-1600 เมตร
ส่วนต่าง ๆ มีพิษ มีสรรพคุณเป็นยาระบาย เปลือกและใบเคี้ยวเพื่อป้องกันฟันผุ ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 6 ม. แยกเพศร่วมต้น หูใบรูปเส้นด้ายขนาดเล็ก ใบเรียงเวียน
เปลือกใช้เบื่อปลา หนาแน่นตามปลายกิ่ง รูปไข่กลับหรือรูปคล้ายไวโอลิน ยาว 6-13 ซม. โคนจักซี่ฟัน
ตื้น ๆ เส้นโคนใบ 3-5 เส้น ช่อดอกคล้ายช่อเชิงหลั่น ยาวได้ถึง 15 ซม. ใบประดับ
เอกสารอ้างอิง รูปใบหอก ยาวได้ถึง 4 มม. ดอกเพศผู้อยู่ด้านข้าง ก้านดอกยาวประมาณ 7 มม.
Peterson, B. (1997). Thymelaeaceae. In Flora of Thailand Vol. 6(3): 28-35. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ยาวประมาณ 2.5 มม. แฉกลึกประมาณกึ่งหนึ่ง ดอกสีชมพูหรือ
Wang, Y. and M.G. Gilbert. (2007). Thymelaeaceae. In Flora of China Vol. 13: อมแดง กลีบรูปไข่กลับ ยาว 1-1.3 ซม. โคนมีขนสีขาว เกสรเพศผู้ 10 อัน เรียง
215, 220.
2 วง ยาวประมาณกึ่งหนึ่งของกลีบดอก ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกัน จานฐานดอกจัก
5 พู ดอกเพศเมียมีดอกเดียวที่ปลายช่อ บานก่อนดอกเพศผู้ ก้านเกสรเพศเมีย 3 อัน
ยอดเกสรแฉกลึก 2 แฉก ผลแห้งแตก เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 ซม. เมล็ดรูปรี
ยาว 8-9 มม. จุกขั้วแยกเป็น 2 แฉก
ถิ่นก�าเนิดในแถบหมู่เกาะอินดีสตะวันตก โดยเฉพาะคิวบา เป็นไม้ประดับ
ทั่วไปในเขตร้อน ยางมีพิษ
สกุล Jatropha L. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Crotonoideae เผ่า Jatropheae มีประมาณ
175 ชนิด พบในอเมริกาเขตร้อน แอฟริกา และเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ในไทย
มี 5 ชนิด เป็นไม้ประดับ วัชพืช หรือปลูกเพื่อสกัดน้ำามันจากเมล็ด อีก 4 ชนิด
ปออิน: ใบเรียงตรงข้าม ปลายใบมนหรือแหลม ช่อดอกคล้ายช่อเชิงลดสั้น ๆ ออกที่ปลายกิ่ง ผลสด สุกสีแดง คือ ฝิ่นต้น J. multifida L. สบู่ดำา J. curcas L. สบู่แดง J. gossypiifolia L. และ
(ภาพ: ถ�้าเสือ กระบี่ - RP) หนุมานนั่งแท่น J. podagrica Hook. ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “jatros” หมอ
และ “trophe” อาหาร หมายถึงพืชเป็นอาหารและสมุนไพร
เอกสารอ้างอิง
Chantharaprasong, J. and P.C. van Welzen. (2007). Euphorbiaceae (Jatropha).
In Flora of Thailand Vol. 8(2): 347.
ปอพรหม: cf. W. nutans ก้านช่อยาว (ภาพซ้าย: ภูจองนายอย อุบลราชธานี - RP); ปอพรหม: W. polyantha
ช่อดอกแบบช่อกระจะ (ภาพขวา: ดอยอินทนนท์ เชียงใหม่ - RP)
ปัดน้ำา
Drosera peltata Thunb.
วงศ์ Droseraceae
พืชล้มลุกกินแมลง สูงได้ถึง 35 ซม. ล�าต้นแตกแขนง มีหัวใต้ดิน ไม่มีหูใบ ปัตตาเวีย: ใบรูปไข่กลับหรือรูปคล้ายไวโอลิน ดอกเพศเมียออกที่ปลายช่อ บานก่อนดอกเพศผู้ (ภาพ: cultivated - RP)
ใบแบบก้นปิด รูปสามเหลี่ยมกว้างเกือบกลม สีเหลืองอมเขียว เส้นผ่านศูนย์กลาง
4-8 มม. บางส่วนลดรูปคล้ายรูปแถบขนาดเล็ก ยาวไม่เกิน 2 มม. ก้านใบยาว
2-8 มม. ใบที่โคนเรียงเป็นกระจุกรอบข้อ ขนาดใหญ่กว่าใบบนล�าต้นที่เรียงเวียน
มีขนต่อมเหนียว ช่อดอกแบบวงแถวเดี่ยว ออกตามปลายกิ่ง ไม่แตกแยกแขนง
ยาว 2-6 ซม. ก้านดอกยาว 0.6-2 ซม. ใบประดับขนาดเล็ก รูปลิ่มแคบ กลีบเลี้ยง
5-7 กลีบ รูปไข่ ยาว 2-4 มม. เกลี้ยงหรือมีต่อมเหนียว ติดทน ดอกสีขาว ชมพู หรือ
แดง กลีบดอก 5-7 กลีบ รูปไข่กลับ ยาว 4-6 มม. เกสรเพศผู้ติดระหว่างกลีบเลี้ยง
ยาว 2-4 มม. เกสรเพศเมีย 3 อัน แฉกตื้น ๆ 2-5 แฉก ผลแตกเป็น 3 ซีก รูปรีกว้าง
เกือบกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-4 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ หญ้าน�้าค้าง, สกุล)
พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ศรีลังกา จีน ญี่ปุ่น และออสเตรเลีย ขึ้นตาม
ที่ชื้นแฉะ ที่โล่ง โดยเฉพาะตามป่าสนเขา ความสูง 700-2100 เมตร มีสรรพคุณ
ฆ่าเชื้อในกามโรค
เอกสารอ้างอิง
Larsen, K. (1987). Droseraceae. In Flora of Thailand Vol. 5(1): 67-69. ฝิ่นต้น: ใบแฉกลึก (ภาพซ้ายบน: cultivated - RP); สบู่ด�า: ใบไม่จักเป็นพู (ภาพขวาบน: cultivated - RP); สบู่แดง:
Lu, L. and K. Kondo. (2001). Droseraceae. In Flora of China Vol. 8: 201. มีขนต่อมเหนียว (ภาพซ้ายล่าง: cultivated - RP); หนุมานนั่งแท่น: ใบแบบก้นปิด (ภาพขวาล่าง: cultivated - RP)
255
58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd 255 3/1/16 5:48 PM