Page 277 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 277

พบที่หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และภาคใต้  ปาล์มบังสูรย์  สารานุกรมพืชในประเทศไทย  ปาหนันช้าง
                    ของไทย ขึ้นตามที่โล่ง หรือบนเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร แยกเป็น   Johannesteijsmannia altifrons (Rchb. f. & Zoll.) H. E. Moore
                    var. parvifolia (Pierre ex Gagnep.) W. J. de Wilde ฐานดอกแคบกว่า ปลาย
                    แกนอับเรณูสั้นกว่า ก้านชูเกสรเพศเมียในผลสั้นมาก เมล็ดขนาดเล็กกว่า   วงศ์ Arecaceae
                                                                          ชื่อพ้อง Teysmannia altifrons Rchb. f. & Zoll.
                      เอกสารอ้างอิง                                        ปาล์มล�าต้นสั้น ไม่แตกกอ ใบติดรอบล�าต้น รูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด ยาวได้ถึง
                       de Wilde, W.J.J.O. and B.E.E. Duyfjes. (2010). Passifloraceae. In Flora of
                          Thailand Vol. 10(2): 238-241.                 3.5 ม. พับจีบมีได้กว่า 20 จีบ ในแต่ละข้าง ขอบจักฟันเลื่อยคล้ายหนาม ก้านใบ
                                                                        ยาวได้ถึง 2.5 ม. มีหนามขนาดเล็ก กาบเป็นหลอด ขอบมีเส้นใย ช่อดอกออกระหว่างใบ
                                                                        มีหลายช่อ ตั้งขึ้น โค้งลง ยาว 50-100 ซม. กาบรูปหลอด สีครีมเปลี่ยนเป็นสีน�้าตาล
                                                                        ก้านช่ออวบหนา ยาว 30-50 ซม. แยกแขนง 2-3 ครั้ง แตกแขนงย่อยจ�านวนมาก
                                                                        ยาว 5-20 ซม. มีขนสั้นหนานุ่ม ดอกออกเป็นกระจุก 2-4 ดอก สีครีม ยาว 4-5 มม.
                                                                        กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 3 กลีบ กลีบดอกเชื่อมติดกันที่โคน เกสรเพศผู้
                                                                        6 อัน โคนเชื่อมติดกัน ผลกลม สีน�้าตาล เส้นผ่านศูนย์กลาง 4-5 ซม. ผนังหนาเป็นคอร์ก
                                                                        ผิวเป็นปุ่มจ�านวนมาก
                                                                           พบที่คาบสมุทรมลายู สุมาตรา บอร์เนียว และภาคใต้ตอนล่างของไทยที่ยะลา
                                                                        และนราธิวาส ขึ้นตามสันเขาในป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 800 เมตร

                                                                           สกุล Johannesteijsmannia H. E. Moore อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Coryphoideae
                                                                           เผ่า Corypheae มี 4 ชนิด พบที่คาบสมุทรมลายู บอร์เนียว และสุมาตรา ในไทย
                                                                           มีชนิดเดียว ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวดัตช์ Johannes Elias Teijsmann
                      ปากกา: ใบรูปรีหรือรูปแถบ ดอกเพศผู้รูประฆัง ผลแห้งแตก สุกสีแดง กลีบเลี้ยงและก้านชูเกสรเพศเมียติดทน   (1809-1882)
                    (ภาพดอกและภาพผลสุก ใบรูปรี: ชุมพร, ภาพผลอ่อน ใบรูปแถบ: สุราษฎร์ธานี; - RP)
                                                                          เอกสารอ้างอิง
                    ปาล์มเจ้าเมืองตรัง                                     Barfod, A.S. and J. Dransfield. (2013). Arecaceae. In Flora of Thailand Vol. 11(3):
                    Licuala peltata Roxb. ex Buch.-Ham. var. sumawongii Saw   420-422.
                    วงศ์ Arecaceae
                       ปาล์มต้นเดี่ยว สูงได้ถึง 6 ม. ใบรูปใบพัด พับจีบ ไม่แยกเป็นส่วน เส้นผ่านศูนย์กลาง
                    1-1.8 ม. ปลายแฉกตื้น ๆ แผ่นใบเป็นมันวาวทั้งสองด้าน ก้านใบยาวได้ถึง 2.7 ม.
                    มีหนามตลอดความยาว ปลายหนามสีด�า กาบใบยาว 50-60 ซม. ช่อดอกออก
                    ระหว่างใบ มี 2-3 ช่อ โค้งลง ยาวได้ถึง 3.5 ม. มีขนสีน�้าตาลแดง ก้านช่อยาว
                    0.8-1.2 ม. ใบที่ลดรูปคล้ายใบประดับ (prophyll) ยาว 35-40 ซม. ช่อดอกย่อยแบบ
                    ช่อเชิงลด มี 3-7 ช่อ ห้อยลง ใบประดับเป็นหลอด ยาว 33-36 ซม. แฉกไม่เป็นระเบียบ
                    ขอบมีเส้นใย ช่อย่อยยาว 35-55 ซม. ช่วงโคนยาวได้ถึง 15 ซม. ดอกจ�านวนมาก
                    ออกเดี่ยว ๆ ใบประดับย่อยขนาดเล็ก ก้านดอกยาวประมาณ 2 มม. กลีบเลี้ยง
                                                                          ปาล์มบังสูรย์: ล�าต้นเดี่ยวขึ้นเป็นกลุ่มใหญ่ตามสันเขา ใบรูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด ติดรอบล�าต้น ช่อผลที่โคนต้น
                    รูประฆัง ยาว 6-7 มม. ปลายจักตื้น ๆ 3 แฉก กลีบดอก 3 กลีบ ยาว 1-1.2 ซม.   ผลกลม สีน�้าตาล ผนังหนาเป็นคอร์ก ผิวมีปุ่มจ�านวนมาก (ภาพ: เขาฉลองชัย ยะลา - RP)
                    มีขนหนาแน่น เกสรเพศผู้ 6 อัน ติดที่โคนกลีบดอก ยาว 8-9 มม. รังไข่เกลี้ยง
                    ก้านเกสรเพศเมียรูปเส้นด้าย ยาว 7-8 มม. ผลรูปรี ยาว 1.2-2 ซม. สุกสีแดงอมส้ม   ปาหนัน, สกุล
                       พืชถิ่นเดียวของไทย พบเฉพาะทางภาคใต้ที่ตรัง พบน้อยมากในป่าธรรมชาติ   Goniothalamus (Blume) Hook. f. & Thomson
                    ลักษณะคล้ายกับ var. peltata แต่ใบไม่แยกเป็นส่วน ดอกขนาดเล็กกว่า เคยรู้จัก  วงศ์ Annonaceae
                    ในชื่อ L. elegans Blume ซึ่งเป็นชื่อพ้องของ L. pumila Blume ที่พบในชวา
                    และสุมาตรา ค�าระบุ var. ตั้งตามนายวัฒนา สุมาวงศ์ ผู้น�าไปปลูกไว้ที่สวนส่วนตัว   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น ใบเรียงเวียนหรือเรียงสลับระนาบเดียว ช่อดอกแบบช่อกระจุก
                    และเก็บตัวอย่างให้กับสวนพฤกษศาสตร์คิว               มีดอกเดียวหรือหลายดอกตามซอกใบ กิ่ง หรือล�าต้น ใบประดับขนาดเล็ก กลีบเลี้ยง
                                                                        3 กลีบ กลีบดอก 6 กลีบ เรียง 2 วง เรียงจรดกัน วงนอกหนา วงในขนาดเล็ก
                       สกุล Licuala Wurmb อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Coryphoideae เผ่า Corypheae มี  มีก้านสั้น ๆ ปลายมักติดกันรูปกรวย เกสรเพศผู้จ�านวนมาก อับเรณูรูปขอบขนาน
                       ประมาณ 135 ชนิด พบในเอเชียและหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมี 13 ชนิด ชื่อสกุล  หรือรูปแถบ หันออก ปลายมีรยางค์ มีหลายคาร์เพล แยกกัน แต่ละคาร์เพลมีออวุล
                       มาจากภาษาพื้นเมืองหมู่เกาะโมลุกกะ ของมาเลเซีย “leko wala”  1-10 เม็ด ยอดเกสรเพศเมียเรียบหรือจัก 2 พู ผลกลุ่ม ผลย่อยรูปรีหรือรูปขอบขนาน
                                                                        ไร้ก้านหรือมีก้านสั้น ๆ
                      เอกสารอ้างอิง
                       Barfod, A.S. and J. Dransfield. (2013). Arecaceae. In Flora of Thailand Vol.   สกุล Goniothalamus เดิมอยู่ภายใต้สกุล Polyalthia sect. Goniothalamus
                          11(3): 437-439.                                  Blume มี 130-140 ชนิด พบเฉพาะในเอเชียเขตร้อน ในไทยมีประมาณ 25 ชนิด
                                                                           และส่วนใหญ่พบทางภาคใต้ ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “gonia” เหลี่ยมหรือมุม
                                                                           และ “thalamos” โคนดอก หมายถึงโคนดอกหรือฐานดอกมักเป็นเหลี่ยม

                                                                        ปาหนันช้าง
                                                                        Goniothalamus giganteus Hook. f. & Thomson
                                                                           ไม้ต้น สูง 10-20 ม. ใบเรียงเวียน รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 15-25 ซม.
                                                                        แผ่นใบด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมัน ด้านล่างเขียวนวล ก้านใบยาว 0.5-1.5 ซม.
                                                                        ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามกิ่งที่ซอกใบที่ร่วง ก้านดอกยาว 2.5-4.5 ซม. กลีบเลี้ยง
                                                                        รูปไข่แกมสามเหลี่ยมยาวได้ถึง 1 ซม. ด้านนอกมีขน กลีบดอกหนาสีเขียวอมเหลือง
                      ปาล์มเจ้าเมืองตรัง: ใบรูปใบพัด พับจีบ ไม่แยกเป็นส่วน ๆ ปลายแฉกตื้น ๆ ช่อดอกย่อยแบบช่อเชิงลด ห้อยลง
                    (ภาพ: cultivated - PK)                              วงนอกรูปไข่หรือแกมขอบขนาน ยาว 8-15 ซม. วงในรูปสามเหลี่ยมยาว 1.5-2 ซม.

                                                                                                                    257






        58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd   257                                                                 3/1/16   5:49 PM
   272   273   274   275   276   277   278   279   280   281   282