Page 274 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 274

ปอหยุมยู่
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                                                                     ปอหู
                                                                     Talipariti macrophyllum (Roxb. ex Hornem.) Fryxell
                                                                     วงศ์ Malvaceae
                                                                      ชื่อพ้อง Hibiscus macrophyllus Roxb. ex Hornem.
                                                                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. มีขนกระจุกยาวหนาแน่นตามกิ่ง หูใบ แผ่นใบ ริ้วประดับ
                                                                     ช่อดอก และกลีบเลี้ยง ขนยาวได้ถึง 8 มม. หูใบรูปขอบขนาน ยาว 6-10 ซม.
                                                                     ร่วงเร็ว ใบรูปไข่กว้างหรือเกือบกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 20-36 ซม. ปลายเป็นติ่ง
                                                                     แหลมยาว โคนรูปหัวใจ เส้นโคนใบ 7 หรือ 9 เส้น มีต่อมตามเส้นแขนงใบ ก้านใบ
                                                                     ยาว 15-30 ซม. ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 30 ซม. ก้านดอกยาว 2.5-3 ซม.
                                                                     ใบประดับคล้ายหูใบ มี 1 คู่ โคนเชื่อมติดกัน ริ้วประดับมี 10-12 อัน โคนเชื่อม
                                                                     ติดกัน รูปใบหอก ยาวได้ถึง 3 ซม. กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาวเท่า ๆ ริ้วประดับ
                                                                     ดอกรูประฆัง สีเหลือง โคนด้านในมีปื้นสีน�้าตาลอมม่วง ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลาง
                  ปอเส็ง: ขึ้นเป็นวัชพืชตามที่โล่งที่ชื้นแฉะ ช่อดอกมี 1-2 ดอก ดอกรูปถ้วยกว้าง เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 5 อัน รูปแถบ   ประมาณ 6 ซม. กลีบรูปไข่กลับ ยาว 4.5-6 ซม. หลอดเกสรเพศผู้ยาวประมาณ 3 ซม.
                ผลรูปกลม จัก 5 พู มีขนหยาบกระจาย กลีบเลี้ยงติดทน (ภาพ: ระโนด สงขลา - RP)
                                                                     ก้านชูอับเรณูสั้น ก้านเกสรเพศเมียมีขนหนาแน่น ผลรูปขอบขนาน ยาว 2.5-3 ซม.
                ปอหยุมยู่                                            มีขนหยาบแข็งยาวหนาแน่น (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ปอทะเล, สกุล)
                Triumfetta pilosa Roth                                 พบที่อินเดีย ปากีสถาน บังกลาเทศ จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน
                วงศ์ Malvaceae                                       คาบสมุทรมลายู ชวา บอรฺ์เนียว และฟิลิปปินส์ (ปาละวัน) ในไทยพบแทบทุกภาค
                   ไม้พุ่ม สูง 1-2 ม. มีขนรูปดาวและขนยาวสีน�้าตาลตามกิ่ง แผ่นใบทั้งสองด้าน   ส่วนมากพบทางภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา หรือชายป่า
                                                                     ความสูงถึงประมาณ 1400 เมตร มีสรรพคุณเป็นยาสมาน เปลือกใช้ท�าเชือกและ
                และช่อดอก ใบเรียงเวียน รูปไข่แกมรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ไม่จักเป็นพู   กระดาษ บางครั้งเรียกทางการค้าในการปลูกสวนป่าว่า พญาคชราช เนื่องจาก
                ยาว 3-14 ซม. ขอบจักฟันเลื่อย เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น เส้นข้างโค้งเรียวยาวเลย  เนื้อไม้มีลายคล้ายไม้สัก แต่ไม่ทนทาน
                กึ่งกลางใบ ก้านใบยาวได้ถึง 5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกสั้น ๆ ออกตามซอกใบ
                ก้านช่อยาว 5-8 มม. ก้านดอกยาว 3-5 มม. ใบประดับขนาดเล็ก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ   เอกสารอ้างอิง
                รูปใบหอก ยาว 0.6-1.2 ซม. ปลายรูปคุ่ม มีรยางค์ยาวประมาณ 1 มม. กลีบดอกสั้น  Phuphathanaphong, L., P. Siriruksa and G. Nuvongsri. (1989). The genus
                หรือยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง โคนด้านในมีต่อม ก้านชูเกสรร่วมสั้น เกสรเพศผู้มี  Hibiscus in Thailand. Thai Forest Bullettin (Botany) 18: 56-61.
                ประมาณ 10 อัน ก้านชูอับเรณูยาวเท่า ๆ กลีบดอก รังไข่มีขน ก้านเกสรเพศเมีย  Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Malvaceae (Hibiscus macrophyllus).
                                                                          In Flora of China Vol. 12: 287.
                สั้นกว่าเกสรเพศผู้ ผลแห้งแตก รูปกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5 มม. มีขนหนาม
                ยาว 6-8 มม. ปลายเป็นตะขอ มีขนยาวกระจาย
                   พบในแอฟริกา อินเดีย ศรีลังกา ภูฏาน เนปาล จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน
                และมาเลเซีย ถึงออสเตรเลีย ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าเสื่อมโทรม ชายป่า ที่โล่ง
                ความสูงถึงประมาณ 1500 เมตร

                   สกุล Triumfetta L. เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Tiliaceae ปัจจุบันอยู่วงศ์ย่อย Grewioideae
                   มีประมาณ 150 ชนิด พบในอเมริกาเขตร้อน แอฟริกา เอเชีย และออสเตรเลีย
                   ในไทยมี 5-6 ชนิด ชนิด T. annua L. หนามที่ผลไม่มีขน ส่วนอีก 3 ชนิด ใบจัก
                   เป็นพู และอาจมีชนิด T. cana Blume ก้านดอกสั้น ผลมีหนามปลายไม่เป็นตะขอ
                   ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวอิตาลี Giovanni Battista Trionfétti (1656-1708)
                  เอกสารอ้างอิง
                   Phengklai, C. (1993). Tiliaceae. In Flora of Thailand Vol. 6(1): 46.
                   Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Tiliaceae. In Flora of China Vol.
                      12: 259.                                        ปอหู: ใบรูปไข่กว้างหรือเกือบกลม มีขนกระจุกยาวหนาแน่น โคนรูปหัวใจ มีต่อมตามเส้นแขนงใบ ช่อดอกออกที่
                                                                     ปลายกิ่ง ดอกรูประฆัง สีเหลือง โคนด้านในมีปื้นสีน�้าตาลอมม่วง (ภาพ: น�้าตกทรายขาว ยะลา - RP)
                                                                     ปออิน, สกุล
                                                                     Wikstroemia Endl.
                                                                     วงศ์ Thymelaeaceae
                                                                       ไม้พุ่ม ใบส่วนมากเรียงตรงข้าม ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ช่อกระจะ หรือแบบ
                                                                     ช่อซี่ร่ม ออกตามปลายกิ่งหรือซอกใบ กลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ เชื่อมติดกันเป็นหลอด
                                                                     ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้จ�านวนสองเท่าของกลีบเลี้ยง เรียง 2 วง ก้านชูอับเรณูสั้น
                                                                     จานฐานดอก (hypogynal disc) เป็นเกล็ดรูปเส้นด้าย ส่วนมากมี 2 หรือ 4 เกล็ด
                                                                     รังไข่มีช่องเดียว ออวุลมีเม็ดเดียว ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรเพศเมียกลม ผลสด
                                                                     หรือแห้งมีเมล็ดเดียว

                                                                       สกุล Wikstroemia มีประมาณ 70 ชนิด พบในเอเชีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะ
                                                                       แปซิฟิก ลักษณะทั่วไปคล้ายกับสกุล Daphne ที่จานฐานดอกเป็นวงรูปถ้วย
                                                                       ใบส่วนใหญ่เรียงเวียน ในไทยมี 4-5 ชนิด อาจมีปอพรหม ชนิด W. nutans
                                                                       Champ. ex Benth. ซึ่งคล้ายกับชนิด W. polyantha Merr. แต่ก้านช่อยาว พบที่จีน
                                                                       ไต้หวัน และเวียดนาม ในไทยพบที่ภูจองนายอย จังหวัดอุบลราชธานี หลายชนิด
                  ปอหยุมยู่: T. pilosa ผลมีขนหนาม ปลายเป็นตะขอ มีขนยาวกระจาย (ภาพบน: ภูหินร่องกล้า เพชรบูรณ์ - PK);
                ปอหยุมยู่: T. annua หนามที่ผลไม่มีขน (ภาพล่างซ้าย: ขุนพะวอ ตาก - RP); ปอหยุมยู่: cf. T. cana ปลายหนามที่ผล  เปลือกเป็นเส้นใย ใช้ทำาเชือก ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวสวีเดน Johan
                ไม่เป็นตะขอ ก้านดอกสั้น (ภาพล่างขวา: อุ้มผาง ตาก - PK)  Emanuel Wikström (1789-1856)

                254






        58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd   254                                                                 3/1/16   5:48 PM
   269   270   271   272   273   274   275   276   277   278   279