Page 271 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 271

และหมู่เกาะแปซิฟิก โดยเฉพาะตามชายฝั่งทะเล ในไทยมี 4 ชนิด ซึ่งย้ายมาจาก  ปอบิด  สารานุกรมพืชในประเทศไทย  ปอผ่าสาม
                       สกุล Hibiscus ชื่อสกุลหมายถึงพืชหลายชนิดในสกุล Talipariti เคยอยู่ภายใต้  Helicteres isora L.
                       สกุล Pariti หรือ Paritium
                                                                        วงศ์ Malvaceae
                    ปอทะเล                                                 ไม้พุ่ม สูง 1-5 ม. มีขนรูปดาวละเอียดหรือขนสั้นนุ่มตามกิ่ง หูใบ แผ่นใบด้านล่าง
                    Talipariti tiliaceum (L.) Fryxell                   กลีบเลี้ยงด้านนอก และผล หูใบรูปเส้นด้าย ยาวได้ถึง 1 ซม. ใบรูปรีหรือรูปไข่กว้าง
                      ชื่อพ้อง Hibiscus tiliaceus L.                    ยาว 8-20 ซม. ปลายจักเป็นแฉก ปลายแฉกแหลมยาวคล้ายหาง โคนกลมหรือ
                                                                        รูปหัวใจ ขอบใบจักฟันเลื่อยสองชั้น เส้นโคนใบ 5-7 เส้น ก้านใบยาว 1-3 ซม.
                       ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูง 3-10 ม. มีขนรูปดาวละเอียดตามหูใบ โคนใบ ริ้วประดับ   ช่อดอกออกสั้น ๆ 2-3 ช่อ เรียงชิดกันตามซอกใบ โค้งด้านเดียว หลอดกลีบเลี้ยงยาว
                    กลีบเลี้ยง และโคนกลีบดอก หูใบคล้ายใบ รูปขอบขนาน ยาว 1-3 ซม. ใบรูปไข่กว้าง  1.5-2 ซม. ดอกสีส้มหรืออมแดง โคนด้านในมีจุดด�าละเอียด กลีบบน 2 กลีบ
                    เกือบกลม ยาว 6-15 ซม. ปลายแหลมสั้น โคนรูปหัวใจ เส้นโคนใบ 7 หรือ 9 เส้น   ขนาดใหญ่ รูปใบหอกกลับ ยาว 2.5-3 ซม. กลีบพับงอกลับ ยาว 1.2-1.5 ซม.
                    ดอกส่วนมากออกเดี่ยวหรือออกชิดกันที่ปลายกิ่งซึ่งใบมักลดรูปดูคล้ายเป็นช่อ   รังไข่บิดเวียน มีตุ่มเป็นขน ปลายก้านเกสรเพศเมียมีจุดสีด�าละเอียด ยอดเกสร
                    ก้านดอกยาว 1-3 ซม. ใบประดับคล้ายหูใบ มี 1 คู่ ก้านดอกยาว 1-3 ซม. ริ้วประดับ  แฉกตื้น ๆ 5 แฉก ผลรูปทรงกระบอก บิดเป็นเกลียว ปลายแหลม ผลแก่สีด�า
                    ส่วนมากมี 8-12 อัน เชื่อมติดกันเกินกึ่งหนึ่ง รูปสามเหลี่ยม ส่วนมากยาว 1-6 มม.   (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ขี้อ้น, สกุล)
                    กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาว 1.5-2 ซม. เชื่อมติดกันประมาณหนึ่งในสาม ดอกรูประฆัง
                    สีเหลือง โคนด้านในมีปื้นสีม่วงเข้ม กลีบรูปไข่กลับ ยาว 4-6 ซม. หลอดเกสรเพศผู้  พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ในไทยพบทุกภาค
                    ยาวประมาณ 3 ซม. ก้านชูอับเรณูสั้น ก้านเกสรเพศเมียมีขนต่อมทั่วไป ผลรูปรีกว้าง  ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง ชายป่าดิบชื้น สองข้างทาง ความสูง
                    เกือบกลม ยาว 1.5-2 ซม. มีขนหยาบแข็งยาวหนาแน่น       100-400 เมตร เปลือก ราก และผลมีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง โดยเฉพาะ
                                                                        แก้ท้องเสียและบิด ผสมกับสมุนไพรชนิดอื่น ๆ เป็นยาหลายขนาน
                       พบที่อินเดีย จีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และออสเตรเลีย ในไทยพบทาง
                    ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามชายป่าดิบชื้น ป่าดิบเขา ป่าโกงกาง และ  เอกสารอ้างอิง
                    ชายฝั่งทะเล ความสูงถึงประมาณ 1400 เมตร มีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง   Phengklai, C. (2001). Sterculiaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(3): 568.
                    และนิยมเป็นไม้ประดับ ใบและดอกมักมีขนาดเล็กกว่าต้นในธรรมชาติ ส่วน var.   Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Sterculiaceae. In Flora of China
                                                                              Vol. 12: 318.
                    pernambucense (Arruda) Fryxell ปัจจุบันมีสถานภาพเป็น T. pernambucense
                    (Arruda) Bovini โคนดอกด้านในไม่มีสีเข้ม หูใบและกลีบเลี้ยงมีขนประปราย พบ
                    ในอเมริกาเขตร้อน

                      เอกสารอ้างอิง
                       Fryxell, P.A. (2001). Talipariti (Malvaceae), a segregate from Hibiscus. Contributions
                          from the University of Michigan Herbarium. Vol. 23: 225-270.
                       Phuphathanaphong, L., P. Siriruksa and G. Nuvongsri. (1989). The genus
                          Hibiscus in Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 18: 43-79.
                       Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007) Malvaceae. In Flora of China Vol.
                          12: 288.





                                                                          ปอบิด: หูใบรูปเส้นด้าย ปลายจักเป็นแฉก ขอบจักฟันเลื่อยซ้อน ช่อดอกออกเป็นกระจุกสั้น ๆ ตามซอกใบ ดอกโค้ง
                                                                        ด้านเดียว สีส้มอมแดง กลีบบน 2 กลีบ ขนาดใหญ่ พับงอกลับ ผลรูปทรงกระบอก บิดเป็นเกลียว ปลายแหลม ผลแก่สีด�า
                                                                        (ภาพ: ตาก - RP)
                                                                        ปอผ่าสาม
                                                                        Sterculia lanceolata Cav.
                                                                        วงศ์ Malvaceae
                                                                           ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูง 1-5 ม. กิ่งอ่อนมีขน กิ่งแก่มีช่องอากาศ หูใบรูปใบหอก
                                                                        ขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบรูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 8-22 ซม. ปลายแหลม แหลมยาว หรือ
                                                                        ยาวคล้ายหาง แผ่นใบเกลี้ยง เส้นแขนงใบเรียงจรดกันใกล้ขอบใบ ไม่มีเส้นโคนใบ
                                                                        ก้านใบยาว 1-5 ซม. ช่อดอกห้อยลง แยกแขนง ยาว 4-10 ซม. ก้านดอกยาว 1-2 ซม.
                                                                        กลีบเลี้ยงสีชมพูหรืออมแดง แฉกลึกเกือบจรดโคน กลีบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก
                                                                        ยาว 4-8 มม. มีขนรูปดาวกระจาย ขอบมีขนครุย เกสรเพศผู้ 10 อัน อับเรณูไร้ก้าน
                                                                        โคนเชื่อมติดกัน ก้านเกสรเพศเมียเชื่อมติดกัน มีขนหนาแน่น ยอดเกสรจัก 5 พู
                                                                        พับงอกลับ มี 2-5 ผลย่อย รูปขอบขนาน โค้ง ยาว 4-8 ซม. ปลายเป็นจะงอย ผลแก่
                                                                        สีแดงอมส้ม มีขนสั้นนุ่ม มี 3-5 เมล็ด รูปรี ยาว 1-1.5 ซม. แก่สีด�า (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่
                                                                        ปอขนุน, สกุล)
                                                                           พบที่จีน พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และคาบสมุทรมลายู ในไทยพบกระจายทุกภาค
                                                                        ขึ้นใต้ร่มเงาในป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ
                                                                        1600 เมตร เปลือกเหนียวใช้ท�าเชือกและกระดาษ

                                                                          เอกสารอ้างอิง
                                                                           Phengklai, C. (2001). Sterculiaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(3): 635.
                      ปอทะเล: ริ้วประดับเชื่อมติดกันเกินกึ่งหนึ่ง ดอกรูประฆัง โคนด้านในสีเข้ม ผลแตกเป็น 5 ซีก ต้นที่เป็นไม้ประดับ
                    ดอกและใบขนาดเล็ก ปลายใบแหลมสั้น ๆ ริ้วประดับจักตื้น ๆ (ภาพบนซ้าย: ตะรุเตา สตูล - PK; ภาพบนขวา:    Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Sterculiaceae. In Flora of China
                    เกาะสุรินทร์ พังงา - SSi; ภาพล่าง: ต้นที่เป็นไม้ประดับ cultivated - RP)  Vol. 12: 309.

                                                                                                                    251






        58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd   251                                                                 3/1/16   5:48 PM
   266   267   268   269   270   271   272   273   274   275   276