Page 267 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 267
ปอขนุน
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
สะแล: ใบเรียงสลับระนาบเดียว ช่อดอกเพศเมียแบบช่อกระจุกแน่น ออกเดี่ยว ๆ ตามกิ่งที่ไม่มีใบ ยอดเกสรเพศเมีย
รูปเส้นด้าย (ภาพ: cultivated - RP)
ปอแก้ว
Abelmoschus manihot (L.) Medik. var. pungens (Roxb.) Hochr.
วงศ์ Malvaceae
ปลาไหลเผือกเล็ก: ไม้พุ่มเตี้ย ใบย่อยรูปแถบ ช่อดอกออกตามซอกใบ มีขนแต่ไม่มีขนต่อม ผลย่อยรูปรีแคบ ก้านผลสั้น ชื่อพ้อง Hibiscus pungens Roxb.
(ภาพ: ภูวัว บึงกาฬ; ภาพซ้ายและภาพขวาบน - SSi; ภาพขวาล่าง - SSa)
ไม้ล้มลุก สูง 1-2 ม. ส่วนต่าง ๆ และผล มีขนหยาบยาวหนาแน่น หูใบรูปแถบ
ปอกระสา หรือรูปเส้นด้าย ยาว 1-1.5 ซม. บางครั้งมีข้างละ 2 อัน ใบรูปฝ่ามือ มี 5-9 พู
Broussonetia papyrifera (L.) L’Hér. ex Vent. หรือแฉกแบบขนนก เส้นผ่านศูนย์กลาง 15-30 ซม. พูรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก
โคนรูปหัวใจ ขอบจักฟันเลื่อยห่าง ๆ ก้านใบยาว 6-18 ซม. ดอกมักออกหนาแน่น
วงศ์ Moraceae ตามปลายกิ่งคล้ายแบบช่อกระจะ ซึ่งใบลดรูป ก้านดอกยาว 1.5-4 ซม. ริ้วประดับ
ชื่อพ้อง Morus papyrifera L., Papyrius papyrifera (L.) Kuntze 5 อัน รูปไข่แกมรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 1.5-2.5 ซม. กลีบเลี้ยงยาว
ไม้ต้น สูง 10-20 ม. หรืออาจสูงได้ถึง 35 ม. น�้ายางสีขาว แยกเพศต่างต้น 2-3 ซม. ด้านนอกมีขนละเอียด ดอกสีเหลืองนวล โคนกลีบด้านในสีม่วงเข้ม ดอกบาน
มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่างตามเส้นแขนงใบ ก้านใบ และใบประดับ หูใบรูปไข่ เส้นผ่านศูนย์กลาง 10-12 ซม. กลีบรูปไข่กลับ เส้าเกสรยาว 1.5-2.5 ซม. อับเรณู
ยาว 0.5-1.5 ซม. ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูปไข่ รูปรี หรือคล้ายรูปหัวใจ ยาว 5-20 ซม. เกือบไร้ก้าน รังไข่มีขนหนาแน่น ผลรูปไข่ ยาว 4-5 ซม. มี 5 สัน เมล็ดสีน�้าตาลด�า
เรียบหรือจัก 3-5 พู ขอบจักฟันเลื่อย แผ่นใบด้านบนมีขนสาก เส้นแขนงใบย่อย รูปคล้ายไต มีขนเป็นแนวหนาแน่น (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ กระเจี๊ยบมอญ, สกุล)
แบบขั้นบันได ก้านใบยาว 1-15 ซม. ช่อดอกเพศผู้แบบช่อเชิงลด ยาว 3-10 ซม. พบที่อินเดีย เนปาล จีน และพม่า ในไทยพบทางภาคเหนือ ขึ้นตามที่โล่ง และ
ก้านช่อยาว 1-2.5 ซม. กลีบรวมรูปไข่ ยาว 1.5-2 มม. เกสรเพศผู้ยาว 3-3.5 มม. ชายป่าเบญจพรรณ ความสูง 300-500 เมตร ส่วน var. manihot ล�าต้นไม่มีขน
ใบประดับรูปลิ่มแคบ ช่อดอกเพศเมียแบบช่อกระจุกแน่น ออกเดี่ยว ๆ ก้านช่อสั้น
เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.2 ซม. วงกลีบรวมยาวประมาณ 1 มม. ปลายแยกเป็น 4 แฉก เอกสารอ้างอิง
ตื้น ๆ เชื่อมติดก้านเกสรเพศเมีย ยอดเกสรเพศเมีย 2 อัน รูปแถบ ยาว 0.7-1 ซม. Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Malvaceae. In Flora of China Vol.
ลดรูป 1 อัน มีขนสั้นนุ่ม ใบประดับรูปกระบองยาว 1-1.5 มม. ช่อผลเส้นผ่านศูนย์กลาง 12: 284.
2-3 ซม. มีขนสั้นนุ่มและขนเครา ผลย่อยฉ�่า ยาว 2-2.5 มม. สุกสีส้มอมแดง
พบที่อินเดีย พม่า จีน ญี่ปุ่น และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทุกภาค บางครั้ง
เป็นวัชพืช เป็นไม้เศรษฐกิจในหลายประเทศ เปลือกให้เส้นใยใช้ท�าเชือก กระดาษ
และทอผ้า ส่วนต่าง ๆ มีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง
สกุล Broussonetia L’Hér. ex Vent. มี 8 ชนิด พบในเอเชียเขตร้อน มีชนิด
เดียวในมาดากัสการ์ ในไทยมี 2 ชนิด อีกชนิดคือ สะแล B. kurzii (Hook. f.)
Corner เป็นไม้พุ่มรอเลื้อยหรือไม้เถาเนื้อแข็ง ใบเรียงสลับระนาบเดียว แผ่นใบ
ไม่สาก ยอดเกสรเพศเมียรูปเส้นด้าย ช่อดอกใช้ปรุงเป็นอาหาร ชื่อสกุลตั้งตาม
นายแพทย์และนักพฤกษศาสตร์ชาวฝรั่งเศส Pierre Marie Auguste Broussonet
(1761-1807)
เอกสารอ้างอิง
Berg, C.C., N. Pattharahirantricin and B. Chantarasuwan. (2011). Moraceae. ปอแก้ว: มีขนหยาบยาวกระจายหนาแน่น ดอกออกตามปลายกิ่งหนาแน่นคล้ายช่อกระจะ ริ้วประดับ 5 อัน
In Flora of Thailand Vol. 10(4): 495-499. ดอกสีเหลืองนวล โคนกลีบด้านในสีม่วงเข้ม ผลมี 5 สัน (ภาพ: ท่าสองยาง ตาก - RP)
Wu, Z., Z.K. Zhou and M.G. Gilbert. (2003). Moraceae. In Flora of China Vol.
5: 26. ปอขนุน, สกุล
Sterculia L.
วงศ์ Malvaceae
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น มีขนกระจุกกระจาย หูใบร่วงเร็ว ใบเดี่ยว เรียบหรือแฉกเป็นพู
หรือใบประกอบรูปฝ่ามือ เรียงเวียน ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ดอกมีเพศเดียว
กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ 10-15 อัน ติดบนก้านชูเกสรร่วม
หุ้มรังไข่ที่เป็นหมัน ในดอกเพศเมียเกสรเพศผู้เป็นหมันติดเป็นวงรอบ หุ้มรังไข่
บนก้านชูเกสรร่วม มี 5 คาร์เพลแยกกัน ก้านเกสรเพศเมียแยกหรือเชื่อมติดกัน
ที่โคน ยอดเกสร 5 อัน แยกกัน ผลแตกแนวเดียว มี 3-5 ผล เปลือกหนา แห้งแตก
มีหนึ่งหรือหลายเมล็ด ไม่มีปีก
สกุล Sterculia เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Sterculiaceae ปัจจุบันอยู่วงศ์ย่อย Sterculioi-
deae มีประมาณ 150 ชนิด พบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน ในไทยเป็นไม้พื้นเมือง
12 ชนิด และไม้ประดับ 1 ชนิด คือ เกาลัด S. monosperma Vent. ชื่อสกุลมา
ปอกระสา: แผ่นใบด้านบนมีขนสาก ช่อดอกเพศผู้แบบช่อเชิงลด ช่อดอกเพศเมียแบบช่อกระจุกแน่น ออกเดี่ยว ๆ
ก้านช่อสั้น ผลย่อยฉ�่า สีส้มอมแดง (ภาพช่อดอกเพศผู้: อุบลราชธานี - PK; ภาพช่อดอกแพศเมีย: พบพระ ตาก - RP) จากภาษาละติน “stercus” มูลสัตว์ หมายถึงใบและดอกบางชนิดมีกลิ่นเหม็น
247
58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd 247 3/1/16 5:53 PM