Page 268 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 268
ปอขนุน
ปอขนุน สารานุกรมพืชในประเทศไทย
Sterculia balanghas L.
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 5-20 ม. กิ่งอ่อนมีขนสีน�้าตาลแดงหนาแน่น หูใบคล้ายรยางค์
ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่ ยาว 10-30 ซม. ปลายแหลมหรือแหลม
ยาว แผ่นใบมีขนหนาแน่น เส้นแขนงใบเรียงจรดกันใกล้ขอบใบ ก้านใบยาว 1-3 ซม.
ช่อดอกโค้งลง ยาว 10-20 ซม. ก้านดอกยาว 0.5-1.5 ซม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยาว
0.7-1 ซม. แฉกลึกเกินกึ่งหนึ่ง ปลายเชื่อมติดกันด้วยขน เกสรเพศผู้ 10 อัน อับเรณู
ไร้ก้าน ก้านเกสรเพศเมียเชื่อมติดกัน มีขนหนาแน่น มี 2-5 ผลย่อย รูปขอบขนาน
ยาว 5-9 ซม. มีขนสั้นสีน�้าตาลด�าหนาแน่น มี 3-6 เมล็ด รูปรี ยาว 1-1.5 ซม. สีด�า
พบที่อินเดีย เนปาล ศรีลังกา พม่า คาบสมุทรมลายู และสุมาตรา ในไทยพบ
ทุกภาค โดยเฉพาะบนเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1600 เมตร
ปอขนุน: S. parviflora ช่อดอกตั้งขึ้น หลอดกลีบเลี้ยงรูปคนโท แฉกรูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาวเท่า ๆ หลอดกลีบเลี้ยง
ปอขนุน ปลายเชื่อมติดกัน มี 1-5 ผลย่อย มีขนสั้นนุ่ม แก่สีแดง มี 3-4 เมล็ด (ภาพ: หนองทุ่งทอง สุราษฎร์ธานี - RP)
Sterculia parviflora Roxb. ex G. Don
ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. กิ่งอ่อนมีขนสีน�้าตาลแดง หูใบรูปใบหอก ใบรูปรีหรือ
รูปขอบขนาน ยาว 10-22 ซม. แผ่นใบมีขนประปราย เส้นแขนงใบเรียงจรดกัน
ใกล้ขอบใบ เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น ก้านใบยาว 2.5-10 ซม. ช่อดอกตั้งขึ้น ยาวได้ถึง
15 ซม. แยกแขนงสั้น ๆ ก้านดอกยาว 1-5 มม. หลอดกลีบเลี้ยงรูปคนโท ยาว
2-3 มม. ปลายแยกเป็นแฉกรูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาวเท่า ๆ หลอดกลีบเลี้ยง
ปลายเชื่อมติดกัน เกสรเพศผู้ 10 อัน อับเรณูไร้ก้าน ก้านเกสรเพศเมียเชื่อมติดกัน ปอขาว: ไม้ต้นผลัดใบ ใบรูปฝ่ามือ มี 3-5 ผลย่อย รูปไต เปลือกหนา มีขนหนาแน่น (ภาพ: นครสวรรค์ - MP)
มี 1-5 ผลย่อย รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาวได้ถึง 7 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ผลแก่สีแดง
มี 3-4 เมล็ด รูปรี ยาว 1.5-2 ซม. สีด�า
พบที่อินเดีย พม่า เวียดนาม คาบสมุทรมลายู บอร์เนียว ในไทยพบทางภาคใต้
ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 350 เมตร
ปอขาว
Sterculia pexa Pierre
ส�าโรง: ใบประกอบรูปฝ่ามือ กลีบเลี้ยงบานออก ใบแก่และผลเกลี้ยง (ภาพ: cultivated - SSi)
ไม้ต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 20 ม. มีขนหนาแน่นตามกิ่งอ่อน แผ่นใบด้านล่าง ช่อดอก
และผล หูใบรูปใบหอก ใบรูปฝ่ามือ ก้านใบยาว 10-30 ซม. ใบย่อยมี 6-9 ใบ รูป ปอขี้อ้น
ใบหอกแกมรูปไข่กลับ ยาว 8-25 ซม. ก้านใบย่อยยาว 1-2 มม. ช่อดอกออกที่ Helicteres viscida Blume
ปลายกิ่ง ยาว 20-30 ซม. ก้านดอกสั้นมาก หลอดกลีบเลี้ยงรูประฆัง ยาว 4-5 มม. วงศ์ Malvaceae
กลีบยาวเท่า ๆ หลอดกลีบเลี้ยง ปลายเชื่อมติดกันด้วยขน เกสรเพศผู้ 15 อัน
ไร้ก้านเกสรเพศเมีย ยอดเกสรจัก 5 พู มี 3-5 ผลย่อย รูปคล้ายไต เปลือกหนา ไม้พุ่ม สูง 1-3 ม. ใบรูปไข่ ยาว 7-15 ซม. ปลายจักเป็นติ่งแหลม โคนเว้าตื้น
ยาว 4-5 ซม. แก่สีแดง มีประมาณ 20 เมล็ด ขอบจักฟันเลื่อยซ้อน เส้นโคนใบข้างละ 2-3 เส้น ก้านใบยาวได้ถึง 1 ซม. หลอด
พบที่ลาว และเวียดนาม ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคตะวันออกเฉียงใต้ กลีบเลี้ยงยาวได้ถึง 2 ซม. มีขนกระจุกรูปดาวหนาแน่นด้านนอก ดอกสีขาว มีสีเหลือง
แต้มที่โคน กลีบรูปใบพาย แยกกัน ขนาดไม่เท่ากัน ยาว 2.5-3 ซม. ที่โคนก้าน
และภาคใต้ ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง ความสูง 100-900 เมตร คล้าย กลีบมีรยางค์เป็นติ่ง 1 คู่ รังไข่มีตุ่มและขนหนาแน่น ล้อมรอบด้วยวงเกสรเพศผู้
ส�าโรง S. foetida L. ที่ใบเป็นใบประกอบรูปฝ่ามือ แต่ใบแก่และผลเกลี้ยง กลีบเลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียแยกเป็น 5 แฉก รูปเส้นด้าย ผลรูปทรงกระบอก ยาว 3-4 ซม. มี
บานออก เมล็ดให้น�้ามันใช้ปรุงอาหารและจุดไฟ 5 สัน ปลายเป็นจะงอย มีขนกระจุกรูปดาวหนาแน่น เมล็ดรูปรีกว้าง ยาวประมาณ
เอกสารอ้างอิง 2 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ขี้อ้น, สกุล)
Phengklai, C. (2001). Sterculiaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(3): 623-649. พบที่จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู สุมาตรา ชวา และบอร์เนียว
Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Sterculiaceae. In Flora of China
Vol. 12: 303. ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามชายป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 350 เมตร
เอกสารอ้างอิง
Phengklai, C. (2001). Sterculiaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(3): 573.
Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Sterculiaceae. In Flora of China
Vol. 12: 319.
ปอขนุน: S. balanghas กิ่งอ่อนมีขนสีน�้าตาลแดงหนาแน่น กลีบเลี้ยงแฉกลึกเกินกึ่งหนึ่ง ปลายเชื่อมติดกันด้วยขน ปอขี้อ้น: ขอบใบจักฟันเลื่อยสองชั้น เส้นโคนใบข้างละ 2-3 เส้น หลอดกลีบเลี้ยงและผลมีขนกระจุกรูปดาวหนาแน่น
ผลย่อยรูปขอบขนาน เมล็ดรูปรี (ภาพซ้ายและขวาบน: เขานางพันธุรัต เพชรบุรี, ภาพขวาล่าง: สระบุรี; - RP) กลีบรูปใบพาย แยกกัน ขนาดไม่เท่ากัน (ภาพดอก: ตาก - PK; ภาพผล: กาญจนบุรี - RP)
248
58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd 248 3/1/16 5:54 PM