Page 273 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 273

ปอเส็ง
                                                                                   สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                                                                        แผ่นใบมีขนรูปดาวละเอียดประปรายด้านบน ด้านล่างหนาแน่น ก้านใบยาว
                                                                        3-12 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุก ยาวได้ถึง 20 ซม. ริ้วประดับมี 3-5 อัน จักชายครุย
                                                                        คล้ายขนนก ยาว 1.3-3 ซม. มีขนหนาแน่น กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปใบหอก ยาว
                                                                        1.5-2.5 ซม. ด้านนอกมีขนหนาแน่น ดอกสีครีมเหลือง มี 5 กลีบ รูปขอบขนาน ยาว
                                                                        1.5-2.5 ซม. โคนเรียวแคบเป็นก้านกลีบหนา โค้งงอกลับ ก้านเกสรเพศผู้เชื่อมติด
                                                                        กลุ่มเดียวเป็นหลอด เกสรเพศผู้จ�านวนมาก หุ้มเกสรเพศเมีย ก้านเกสรเพศเมีย
                                                                        ยาว 1.5-2.5 ซม. ช่วงล่างมีขน ยอดเกสรแยกเป็น 7-10 แฉก บิดพับงอ ผลแห้งแตก
                                                                        เป็น 7-10 ส่วน ปลายแหลม ยาว 4-6 ซม. ก้านหนา ยาว 1-3 ซม. เมล็ดจ�านวนมาก
                                                                        ปลายมีปีก ยาว 1-2 ซม. รวมปีก
                                                                           พบที่อินเดีย ภูฏาน จีนตอนใต้ พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบแทบทุกภาค
                                                                        ยกเว้นภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามชายป่า ความสูงถึงประมาณ
                                                                        1200 เมตร


                      ปอพราน: ใบเรียงสลับระนาบเดียว หูใบติดทน โคนเบี้ยว เว้าเป็นติ่ง ช่อดอกออกสั้น ๆ ตามซอกใบ กลีบเลี้ยงยาวกว่า  สกุล Eriolaena DC. เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Sterculiaceae ปัจจุบันอยู่วงศ์ย่อย
                    กลีบดอก เกสรเพศผู้จ�านวนมาก แยกกัน ผลรูปรีกว้างเกือบกลม มี 5 ครีบ มีขนสั้นนุ่มหนาแน่น (ภาพ: บุรีรัมย์ - PK)  Dombeyoideae มีประมาณ 17 ชนิด พบเฉพาะในเอเชีย ในไทยมี 1-2 ชนิด
                    ปอลมปม                                                 อาจมีชนิด E. glabrescens DC. ที่ใบค่อนข้างเกลี้ยง ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก
                                                                           “erion” ขนแบบขนแกะ และ “chlaena” หรือ “laina” สิ่งปกคลุม หมายถึงกลีบเลี้ยง
                    Thespesia lampas (Cav.) Dalzell & A. Gibson            มีปกคลุมขนหนาแน่น
                    วงศ์ Malvaceae
                      ชื่อพ้อง Hibiscus lampas Cav.                       เอกสารอ้างอิง
                                                                           Phengklai, C. (2001). Sterculiaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(3): 552-555.
                       ไม้พุ่ม สูง 1-3 ม. มีขนรูปดาวละเอียดตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ ก้านดอก   Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Sterculiaceae. In Flora of China
                    กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก และผล หูใบรูปแถบ ยาว 5-8 มม. ใบรูปไข่กว้าง   Vol. 12: 322-325.
                    จัก 3 พู ยาว 8-20 ซม. โคนกลมหรือรูปหัวใจตื้นๆ เส้นโคนใบ 5-7 เส้น ก้านใบ
                    ยาวได้ถึง 7 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นช่อกระจุกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง
                    ก้านดอกยาว 0.5-1 ซม. ริ้วประดับ 5 อัน รูปลิ่มแคบ ยาว 2-5 มม. ร่วงเร็ว
                    กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ปลายแฉกรูปลิ่มแคบ ยาวได้ถึง 8 มม. ดอกรูประฆังสีเหลือง
                    โคนกลีบด้านในมีสีม่วงอมแดง กลีบรูปไข่กลับ ยาว 6-8 ซม. เส้าเกสรยาว
                    ประมาณ 1.5 ซม. ก้านชูอับเรณูยาว 2-4 มม. อับเรณูรูปเกือกม้า ก้านเกสรเพศเมีย
                    ยาวประมาณ 1.5 ซม. ยอดเกสรรูปกระบอง ยาว 5-8 มม. ผลรูปรีกว้างหรือเกือบกลม
                    ยาว 2-3 ซม. ผนังหนาเป็นเหลี่ยม แตกตามยาว เมล็ดรูปไข่กลับ ยาวประมาณ
                    5 มม. มีขนเป็นวงใกล้ขั้วเมล็ด (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ โพทะเล, สกุล)
                                                                          ปอเลียงฝ้าย: ใบรูปไข่กว้างหรือรูปหัวใจ กลีบดอกโคนเรียวแคบเป็นก้านกลีบหนา โค้งงอกลับ ก้านเกสรเพศผู้
                       พบที่แอฟริกา อินเดีย เนปาล พม่า จีนตอนใต้ ลาว เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย   เชื่อมติดกลุ่มเดียว ริ้วประดับจักชายครุย ยอดเกสรเพศเมียแยกแฉก บิดพับงอ (ภาพ: แม่สะนาม เชียงใหม่ - RP)
                    ฟิลิปปินส์ และนิวกินี ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามชายป่า ความสูงถึงประมาณ
                    1300 เมตร เปลือกในใช้ท�าเชือก เส้นใยจากเมล็ดใช้ทอเป็นผ้า  ปอเส็ง

                      เอกสารอ้างอิง                                     Pentapetes phoenicea L.
                       Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Malvaceae. In Flora of China Vol.   วงศ์ Malvaceae
                          12: 295-296.
                                                                           ไม้ล้มลุกหรือไม้พุ่ม สูง 1-1.5 ม. แตกกิ่งสั้น ๆ ใบเรียงเวียน รูปใบหอกแคบ
                                                                        จักเป็นพูตื้น ๆ หรือรูปหัวลูกศร ยาว 3-14 ซม. แผ่นใบมีขนประปรายทั้งสองด้าน
                                                                        ขอบใบจักฟันเลื่อยค่อนข้างลึก เกือบไร้ก้านหรือมีก้านยาวได้ถึง 1 ซม. ช่อดอกแบบ
                                                                        ช่อกระจุกสั้น ๆ มี 1-2 ดอก ก้านช่อสั้น ก้านดอกยาว 1-2 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ
                                                                        ติดทน โคนเชื่อมติดกัน กลีบรูปสามเหลี่ยมแคบ ยาว 5-7 มม. ปลายแหลมคล้าย
                                                                        หนามหรือตะขอ มีขนหยาบ ดอกรูปถ้วยกว้าง สีชมพูหรือแดง โคนด้านในมีสีขาว
                                                                        มี 5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม กลีบรูปไข่กลับ ปลายกลม ยาว 1-2 ซม. เกสรเพศผู้
                                                                        15 อัน ติดกันเป็น 5 กลุ่มสั้น ๆ เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันมี 5 อัน ติดระหว่างกลุ่ม
                                                                        รูปแถบ สั้นกว่าหรือยาวเท่า ๆ กับกลีบดอก รังไข่มีขน ก้านเกสรเพศเมียยาวเท่า ๆ
                                                                        หรือยาวกว่าแผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันเล็กน้อย ติดทน ผลแห้งแตกตามยาว กลม
                                                                        จัก 5 พู เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.2 ซม. มีขนหยาบกระจาย มีประมาณ 10 เมล็ด
                                                                           พบในเอเชียเขตร้อนถึงตอนบนของออสเตรเลีย ขึ้นเป็นวัชพืชในหลายประเทศ
                                                                        ในไทยพบทุกภาคตามนาข้าว ที่โล่งที่ชื้นแฉะ ความสูงไม่เกิน 100 เมตร หรือเป็น
                      ปอลมปม: ใบรูปไข่กว้าง จัก 3 พู กลีบเลี้ยงจักตื้น ๆ ปลายแฉกรูปลิ่มแคบ ดอกรูประฆัง โคนด้านในมีสีม่วงอมแดง   ไม้ประดับ รากแก้ปวดท้อง เปลือกเหนียวใช้ท�าเชือก
                    เกสรเพศผู้ติดตลอดความยาวหลอดเกสร ยอดเกสรเพศเมียรูปกระบอง (ภาพ: ตาก - RP)
                                                                           สกุล Pentapetes L. เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Sterculiaceae ปัจจุบันอยู่วงศ์ย่อย
                    ปอเลียงฝ้าย                                            Dombeyoideae เป็นสกุลที่มีชนิดเดียว ชื่อสกุลเป็นภาษากรีก หมายถึงดอกไม้
                    Eriolaena candollei Wall.                              ที่มี 5 กลีบ
                    วงศ์ Malvaceae                                        เอกสารอ้างอิง
                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. หูใบรูปแถบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูปไข่กว้าง  Phengklai, C. (2001). Sterculiaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(3): 595-597.
                    หรือรูปหัวใจ ยาว 6-16 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว ขอบจักฟันเลื่อยหรือจักมน   Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Sterculiaceae. In Flora of China
                                                                              Vol. 12: 326.

                                                                                                                    253






        58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd   253                                                                 3/1/16   5:48 PM
   268   269   270   271   272   273   274   275   276   277   278