Page 281 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 281

เป้งทะเล
                                                                                   สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                    ปุดยูนนาน                                              สกุล Gyrocarpus Jacq. มี 3 ชนิด พบในอเมริกาเขตร้อน แอฟริกา มาดากัสการ์
                    Etlingera yunnanensis (T. L. Wu & S. J. Chen) R. M. Sm.  เอเชีย และออสเตรเลีย ในไทยมีชนิดเดียว มีความผันแปรสูง แยกเป็นหลายชนิดย่อย
                                                                        ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “gyros” เป็นวงหรือหมุน และ “carpos” ผล หมายถึง ผลมี
                    วงศ์ Zingiberaceae                                  ปีกร่วงแล้วหมุนคล้ายใบพัดเฮลิคอปเตอร์
                      ชื่อพ้อง Achasma yunnanense T. L. Wu & S. J. Chen
                       ไม้ล้มลุกแตกกอห่าง ๆ สูง 2-3 ม. มีขนสั้นประปรายตามกาบใบ ก้านใบ และ  เอกสารอ้างอิง
                    แผ่นใบด้านล่าง ช่วงปลายกาบและก้านใบสีเขียวอมม่วง ใบรูปใบหอก ยาว 50-60 ซม.   Duyfjes, B.E.E. (2010). Hernandiaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(2): 200.
                    ก้านใบสั้น ช่อวงใบประดับสูงได้กว่า 10 ซม. ก้านช่อสั้นอยู่ใต้ดิน ใบประดับสีแดง
                    เรียงซ้อนเหลื่อม รูปไข่ ยาว 2.5-3 ซม. ดอกที่บานมี 6-10 ดอก ใบประดับย่อยเรียวแคบ
                    เป็นหลอด ยาวประมาณ 2.7 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงยาว 3.5-4 ซม. หลอดกลีบดอก
                    สั้นกว่ากลีบเลี้ยง กลีบปากยื่นเลยกลีบดอก ปลายบานออก ช่วงที่แยกยาว 2.5-3 ซม.
                    ปลายจักตื้น ๆ กลางแผ่นสีม่วง ขอบสีเหลืองสด ก้านชูอับเรณูช่วงแยกยาวประมาณ
                    5 มม. ช่อผลกลมกว้าง เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 10 ซม. ผลย่อยรูปลูกข่าง ยาว
                    2.5-3 ซม. มีขนสั้นนุ่มหนาแน่น (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ กาหลา, สกุล)
                       พบที่จีนตอนใต้ ลาว และภาคเหนือของไทยที่เพชรบูรณ์ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง
                    ความสูงประมาณ 900 เมตร
                                                                          ปูเล: ผลรูปไข่ เป็นสันตื้น ๆ มีปีกยาว 2 ปีก ผลแห้งสีน�้าตาล (ภาพซ้าย: แก่งกระจาน เพชรบุรี - RP; ภาพขวา:
                      เอกสารอ้างอิง                                     ถ�้าเพชรถ�้าทอง นครสวรรค์ - PK)
                       Wu, D. and K. Larsen. (2000). Zingiberaceae. In Flora of China Vol. 24: 356.
                                                                        เป้ง, สกุล
                                                                        Phoenix L.
                                                                        วงศ์ Arecaceae
                                                                           ปาล์มล�าต้นเดี่ยวหรือแตกกอ แยกเพศต่างต้น ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว
                                                                        เรียงเวียนรอบล�าต้น กาบเป็นเส้นใย ใบย่อยแผ่ในระนาบเดียว เรียงเดี่ยว ๆ หรือ
                                                                        เป็นกลุ่ม ปลายแหลม โคนก้านรูปตัววี ใบช่วงล่างเปลี่ยนรูปเป็นหนาม ใบประดับ
                                                                        ลดรูป ช่อดอกออกระหว่างใบ แยกแขนงครั้งเดียว แขนงย่อยจ�านวนมากติดเป็นกลุ่ม
                                                                        ตามแกนช่อ ดอกออกเดี่ยว ๆ เรียงเวียนบนแกนช่อ กลีบเลี้ยง 3 กลีบ เชื่อมติดกัน
                                                                        รูปถ้วย กลีบดอก 3 กลีบ แยกกัน เกสรเพศผู้ส่วนมากมี 6 อัน ก้านชูอับเรณูสั้น
                                                                        ดอกเพศเมียสั้นกว่าดอกเพศผู้ประมาณกึ่งหนึ่ง มี 3 คาร์เพล แยกกัน มีออวุล
                                                                        เม็ดเดียว ยอดเกสรเพศเมียโค้ง ผลเจริญเพียงผลเดียว เปลือกเรียบ ผนังชั้นกลางสด
                                                                        ชั้นในบาง เมล็ดเป็นเนื้อเดียวกับเอนโดสเปิร์ม

                                                                           สกุล Phoenix อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Coryphoideae เผ่า Phoeniceae มี 14 ชนิด
                                                                           พบในแอฟริกาและเอเชีย ในไทยมี 3 ชนิด อีกชนิดคือ ปาล์มสิบสองปันนา
                                                                           P. roebelenii O’Brien ขึ้นหนาแน่นตามแก่งในแม่น้ำาโขง ที่เป็นไม้ประดับ
                                                                           ส่วนมากลำาต้นเดี่ยว ในธรรมชาติมักแตกกอหนาแน่น ใบย่อยแผ่ระนาบเดียว
                                                                           นอกจากนี้ยังมีที่เป็นไม้ประดับหรือปลูกเป็นไม้ผล 2-3 ชนิด ชื่อสกุลเป็นภาษา
                      ปุดยูนนาน: ช่วงปลายกาบและก้านใบสีเขียวอมม่วง ใบประดับสีแดง ดอกที่บานมี 6-10 ดอก กลีบปากยื่นเลย  กรีกโบราณ “phoinix” หรือ “phoinikos” ที่ใช้เรียกต้นอินทผลัม
                    กลีบดอก ปลายจักตื้น ๆ กลางแผ่นสีม่วง ขอบสีเหลืองสด (ภาพ: น�้าหนาว เพชรบูรณ์ - JM)
                    ปูเล                                                เป้ง
                    Gyrocarpus americanus Jacq.                         Phoenix loureiroi Kunth
                    วงศ์ Hernandiaceae                                     ปาล์มส่วนมากเป็นล�าต้นเดี่ยว สูงได้ถึง 5 ม. โคนใบแห้งติดทน ใบยาวได้ถึง 2 ม.
                      ชื่อพ้อง Gyrocarpus asiaticus Willd.              ใบย่อยข้างละ 80-130 ใบ เรียงเป็นกลุ่ม 3-4 ใบ แผ่กระจายหลายทาง ด้านล่าง
                       ไม้ต้น สูง 6-25 ม. เปลือกสีเทาอมขาว มียางสีเหลือง ใบเรียงเวียน รูปหัวใจ  มักมีสีเขียวอมน�้าเงิน ใบที่เปลี่ยนรูปเป็นหนามบนก้านใบมีข้างละ 14-16 อัน เรียงยาว
                                                                        ได้ถึง 20 ซม. ช่อดอกตั้งตรง ช่อดอกเพศผู้ ก้านช่อยาว 10-15 ซม. มีช่อย่อย
                    หรือรูปไข่ ยาว 7-24 ซม. หรือจัก 3-5 พู ในต้นเล็ก ปลายแหลมยาว แผ่นใบมีขนหรือ  25-30 ช่อ ยาว 8-12 ซม. ดอกเพศผู้ยาว 5-8 มม. ช่อดอกเพศเมีย ก้านช่อยาว
                    เกลี้ยงด้านบน เส้นแขนงใบแบบฝ่ามือ 3-5 เส้น เส้นแขนงใบย่อยแบบขั้นบันได
                    ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่นแยกแขนง ยาว 5-17 ซม. ก้านช่อยาว 3-6 ซม. ดอกเรียง  1-1.5 ม. มีช่อย่อย 30-40 ช่อ ยาว 30-40 ซม. ดอกเพศเมียยาว 3-4 มม. ช่อผลยาว
                    หนาแน่น สีครีมอมเขียว ขนาดเล็ก ดอกสมบูรณ์เพศหรือมีเพศเดียว กลีบรวม   1.4-1.6 ม. โค้งลง ผลรูปรี ยาว 1-1.8 ซม. หน้าตัดกลม
                    6-8 กลีบ 4 กลีบติดกันเป็นคู่ กลีบข้าง 2 กลีบขยายเป็นปีกในผล เกสรเพศผู้ 4 อัน   พบที่จีนตอนใต้ ไต้หวัน พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และมาเลเซีย ในไทยพบแทบ
                    ยาวประมาณ 2.5 มม. ในดอกเพศผู้ สั้นมากในดอกสมบูรณ์เพศ มีต่อมระหว่าง  ทุกภาคยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าเต็งรัง หรือบน
                    เกสรเพศผู้ ยาว 0.5-1 มม. เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันรูปกระบอง รังไข่ใต้วงกลีบ มี  เขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1500 เมตร
                    ช่องเดียว ออวุล 1 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียคล้ายตัวเอส ยอดเกสรเป็นตุ่ม ผลรูปไข่
                    ยาว 1.5-2 ซม. มีสันตื้น ๆ 8 สัน ผนังผลแข็ง หนา มีขน ปีก 2 ปีก ยาว 6.5-9 ซม.   เป้งทะเล
                    โคนปีกแคบ 2-3 มม. ช่วงกว้าง กว้าง 0.8-1.1 ซม. แห้งสีน�้าตาล เมล็ดมีเนื้อยุ่ยหุ้ม  Phoenix paludosa Roxb.
                       พบในอเมริกาเขตร้อน แอฟริกา เอเชีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทย
                    พบทางภาคเหนือตอนล่างที่นครสวรรค์ ภาคตะวันออกที่เขาใหญ่ จังหวัดปราจีนบุรี   ปาล์มแตกกอ สูงได้ถึง 5 ม. โคนใบแห้งติดทน ใบยาว 2-3 ม. ใบย่อยข้างละ
                    ภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ และกระจายห่าง ๆ ทาง  30-60 ใบ เรียงเป็นกลุ่ม 3-4 ใบ แผ่กระจายหลายทาง ด้านล่างมักมีสีเทา ใบที่
                    ภาคใต้ ขึ้นตามชายป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้นใกล้ชายฝั่งทะเล ความสูงถึงประมาณ 400   เปลี่ยนรูปเป็นหนามบนก้านใบมีข้างละ 11-19 อัน เรียงยาวได้ถึง 8 ซม. ช่อดอกตั้งตรง
                    เมตร มีความผันแปรสูง บางครั้งแยกเป็นหลายชนิดย่อย    ช่อดอกเพศผู้ ก้านช่อยาว 20-30 ซม. มีช่อย่อย 30-50 ช่อ ยาว 5-10 ซม. ดอกเพศผู้


                                                                                                                    261






        58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd   261                                                                 3/1/16   5:50 PM
   276   277   278   279   280   281   282   283   284   285   286