Page 286 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 286

เปล้าน�้า


                เปล้าน้ำา           สารานุกรมพืชในประเทศไทย            พบในภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคตะวันตกเฉียงใต้
                Croton fluviatilis Esser                             และภาคใต้ ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ
                                                                     1800 เมตร
                   ไม้พุ่มทนน�้าท่วม อาจสูงได้ถึง 5 ม. กิ่งอ่อน ยอดมีขนสั้นนุ่ม หูใบยาว 3-5 มม.
                ใบรูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาว 10-17 ซม. โคนแหลมมน ขอบจักไม่ชัดเจน ต่อมติด  เอกสารอ้างอิง
                ที่โคนติดก้านใบ ก้านใบยาว 1-3.5 ซม. ช่อดอกยาว 7-19 ซม. ดอกเพศเมียมี   Esser, H.-J. (2002). Croton poomae (Euphorbiaceae), a new species from
                                                                          Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 30: 1.
                4-12 ดอก ใบประดับยาว 2-3.5 มม. ดอกเพศผู้ก้านดอกยาว 4-5 มม. กลีบเลี้ยง  ________. (2005). Euphorbiaceae (Croton). In Flora of Thailand Vol. 8(1): 189-226.
                และกลีบดอกยาวประมาณ 2.5 มม เกสรเพศผู้ 10-12 อัน ดอกเพศเมียก้านดอก  Esser, H.-J. and K. Chayamarit. (2001). Two new species and a new name in
                ยาวประมาณ 2 มม. ในผลยาว 4-8 มม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกขยายในผลเล็กน้อย   Thai Croton (Euphorbiaceae). Thai Forest Bulletin (Botany) 29: 55-56.
                ปลายมีติ่งแหลม บางครั้งไม่มีกลีบดอก ก้านเกสรเพศเมียแยกกัน ยอดเกสรยาว
                3-5 มม. แฉกลึก ผลรูปรีกว้าง จัก 3 พู กว้างประมาณ 8 มม. มีขนประปราย
                   พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคตะวันออกที่อุบลราชธานี สุรินทร์ ขึ้นริมล�าธาร
                ในป่าดิบแล้งที่เป็นดินทราย ความสูง 100-250 เมตร เป็นชนิดเดียวในสกุล Croton
                ของไทยที่เป็นพืชทนน�้าท่วม (rheophyte)

                เปล้าภูวัว
                Croton poomae Esser
                   ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. สิ่งปกคลุมหนาแน่นตามกิ่งอ่อน หูใบ แผ่นใบด้านล่าง   เปล้าทุ่ง: ไม้พุ่มเตี้ย มีขนสีขาวดูคล้ายเป็นจุดตามกิ่งอ่อนและผล ขอบใบจักฟันเลื่อย (ภาพ: ตากใบ นราธิวาส - RP)
                ช่อดอก ดอก และผล หูใบยาว 0.8-1.2 ซม. ใบรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาว
                15-28 ซม. โคนมนคล้ายรูปหัวใจแคบ ๆ ขอบเรียบ แผ่นใบด้านล่างมีขนสั้นสีเงิน
                หนาแน่นและมีขนสีน�้าตาลแดงกระจาย ต่อมติดด้านโคนข้างเส้นกลางใบ ช่อดอก
                มีหลายช่อ ยาวได้ถึง 20 ซม. ดอกเพศเมียมี 2-7 ดอก ใบประดับยาว 1-1.5 มม.
                ไม่มีต่อม ดอกเพศผู้ก้านดอกยาวประมาณ 1 มม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกยาว
                ประมาณ 3 มม. กลีบดอกขอบมีขนครุย เกสรเพศผู้มีประมาณ 10 อัน ดอกเพศเมีย
                ก้านดอกสั้นมาก กลีบเลี้ยงรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 5 มม. ไม่มีกลีบดอก
                ก้านเกสรเพศเมียแยกกัน ยอดเกสรยาว 2-3 มม. ผลรูปรีกว้าง ยาว 1.5-1.7 ซม.   เปล้าน้อย: C. decalvatus ใบรูปใบหอก ใบมีสีส้มก่อนร่วง ขอบจักฟันเลื่อยตื้น ๆ ดอกเพศเมียจ�านวนมาก
                                                                     (ภาพ: เขาใหญ่ ปราจีนบุรี - MP)
                   พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนที่ภูวัว จังหวัด
                บึงกาฬ ขึ้นตามชายป่าหรือในป่าดิบแล้ง ความสูง 200-300 เมตร ค�าระบุชนิด
                ตั้งตามชื่อ ดร.ราชันย์ ภู่มา ผู้เก็บตัวอย่างพรรณไม้ต้นแบบ

                เปล้าหลวง
                Croton roxburghii N. P. Balakr.
                   ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. สิ่งปกคลุมหนาแน่นตามกิ่งอ่อนและก้านดอก หูใบ
                ยาวประมาณ 2 มม. ใบรูปขอบขนาน ยาว 10-32 ซม. ขอบจักฟันเลื่อย ต่อมติดที่  เปล้าน้อย: C. stellatopilosus ใบเรียงเวียนหนาแน่นที่ปลายกิ่ง ขอบจักฟันเลื่อยห่าง ๆ ดอกเพศเมียมักบานก่อน
                โคนเส้นกลางใบด้านล่าง ก้านใบยาว 1-5 ซม. ช่อดอกมีหลายช่อ ยาว 10-35 ซม.   หรือติดเป็นผลช่วงดอกเพศผู้บาน ผลรูปรีกว้าง (ภาพ: cultivated - RP)
                ดอกเพศเมียมี 10-23 ดอก ใบประดับยาว 1-3 มม. โคนมีต่อมคู่ ดอกเพศผู้ก้านดอก
                ยาว 2.5-5 มม. กลีบเลี้ยงรูปรี ยาว 2.5-3 มม. กลีบดอกรูปขอบขนาน ยาวเท่า ๆ
                กลีบเลี้ยง เกสรเพศผู้ 10-12 อัน ดอกเพศเมียก้านดอกยาว 2-4 มม. ในผลยาว
                3-5 มม. กลีบเลี้ยงรูปรี ยาว 2.5-3 มม. มีขนหนาแน่น ไม่มีกลีบดอกหรือลดรูป
                ก้านเกสรเพศเมียแยกกัน ยอดเกสรยาว 3-4 มม. ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 6-8 มม.
                มีขนสั้นนุ่มประปราย
                   พบที่อินเดีย เนปาล ภูฏาน บังกลาเทศ พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทย
                กระจายพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง และ
                ป่าดิบแล้ง ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร

                เปล้าใหญ่
                Croton poilanei Gagnep.
                                                                      เปล้าน�้า: ใบรูปใบหอกหรือรูปแถบ ขอบจักไม่ชัดเจน ก้านดอกเพศผู้ยาวกว่าก้านดอกเพศเมีย ก้านเกสรเพศเมีย
                   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. สิ่งปกคลุมหนาแน่นตามกิ่งอ่อน หูใบ ก้านใบ   แยกกัน ยอดเกสรเพศเมียแฉกลึก ผลจัก 3 พู (ภาพ: cultivated - RP)
                ช่อดอก ก้านดอก กลีบเลี้ยง และผล หูใบยาว 2-4 มม. ใบรูปขอบขนานหรือรูป
                ใบหอก ยาว 15-37 ซม. ขอบจักฟันเลื่อยห่าง ๆ ต่อมติดที่โคนเส้นกลางใบด้านล่าง
                ก้านใบยาว 1.5-7 ซม. ช่อดอกยาว 12-40 ซม. ดอกเพศเมียมี 7-20 ดอก บานก่อน
                ดอกเพศผู้ ใบประดับรูปขอบขนาน ยาว 3-5 มม. ดอกเพศผู้ก้านดอกยาว 2-3 มม.
                กลีบเลี้ยงรูปรี ยาวประมาณ 2.5 มม. กลีบดอกรูปขอบขนาน ยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง
                เกสรเพศผู้มีประมาณ 10 อัน ดอกเพศเมียก้านดอกหนา ยาว 1-3 มม. โคนก้าน
                มีต่อมคู่ กลีบเลี้ยงหนา รูปขอบขนาน ยาว 5-7 มม. พับงอ โคนมีขน กลีบดอกยาว
                2-3 มม. ก้านเกสรเพศเมียเชื่อมติดกันที่โคน ยอดเกสรยาว 3-4 มม. ผลรูปรีกว้าง   เปล้าภูวัว: โคนมนคล้ายรูปหัวใจแคบ ๆ ขอบเรียบ สิ่งปกคลุมสีน�้าตาลแดงกระจาย ช่อดอกมีหลายช่อ ดอกเพศเมีย
                ยาวประมาณ 1 ซม.                                      ไม่มีกลีบดอก (ภาพ: ภูวัว บึงกาฬ - RP)

                266






        58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd   266                                                                 3/1/16   5:51 PM
   281   282   283   284   285   286   287   288   289   290   291