Page 290 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 290

โปรงขาว
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                                                                     ก้านชูอับเรณูยาว 3-5 มม. ก้านเกสรเพศเมียสั้น โคนหนา ผลรูปไข่ ยาว 1.5-2.5 ซม.
                                                                     ต้นอ่อนใต้ใบเลี้ยงยาว 15-35 ซม. เรียบหรือมีสันคมตามยาว ห้อยลง โคนสีครีม
                                                                       พบที่แอฟริกา มาดากัสการ์ อินเดีย ศรีลังกา พม่า กัมพูชา เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย
                                                                     ฟิลิปปินส์ นิวกินี และออสเตรเลีย ในไทยทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้
                                                                     เนื้อไม้มีความทนทานมากที่สุดในบรรดาไม้ในป่าโกงกาง ใช้ท�าฟืนและถ่าน
                                                                     คุณภาพดี เปลือกใช้ท�าสีย้อมให้สีด�า ค�าระบุชนิดมาจากค�าว่า “tagalog” ที่ใช้
                                                                     เรียกชนเผ่าในฟิลิปปินส์

                                                                     โปรงหมู
                                                                     Ceriops zippeliana Blume
                                                                       ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 12 ม. เปลือกสีน�้าตาลแตกเป็นสะเก็ด หูใบยาว
                                                                     2.5-3.6 ซม. โคนด้านในมี 280-310 ต่อม เรียง 18-20 ชั้น ใบรูปไข่ ยาว 5.5-11 ซม.
                  โปร่งกิ่ว: มีขนสั้นนุ่มกระจาย แผ่นใบด้านล่างมีนวล โคนเว้าตื้น ๆ กลีบดอกหนา เกสรเพศผู้ปลายมีรยางค์สั้น ๆ
                ผลย่อยมี 4-9 ผล ยาว 1.5-1.8 ซม. ปลายมีติ่งแหลม (ภาพ: cultivated - RP)  ปลายมนกลม ก้านใบยาว 1.5-2.6 ซม. ช่อดอกมี 3-7 ดอก ใบประดับย่อยแยก
                                                                     2 แฉก ยาวประมาณ 2.5 มม. มีต่อมด้านใน 2-8 ต่อม กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาว 2-3 มม.
                โปรงขาว, สกุล                                        ดอกสีขาวเปลี่ยนเป็นสีน�้าตาล กลีบรูปสามเหลี่ยมแคบ ยาว 3-3.5 มม. ขอบกลีบมีขน
                Ceriops Arn.                                         ช่วงบน รยางค์จักเป็นพู่ อับเรณูปลายมีรยางค์ 1 อัน ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ
                วงศ์ Rhizophoraceae                                  2 มม. ผลรูปไข่ ยาวประมาณ 1.5 ซม. ผิวเป็นร่างแห ต้นอ่อนใต้ใบเลี้ยงยาว 9-17 ซม.
                   ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก มีรากหายใจรูปหัวเข่าและรากค�้ายัน หูใบรูปใบหอก   โค้งงอ มีสันตามยาว ชี้ขึ้นหรือลง เรียวยาวไม่เท่ากัน ปลายแหลม โคนสีแดง
                ร่วงเร็ว โคนด้านในมีต่อมจ�านวนมาก ใบเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉากหนาแน่นช่วง  พบที่เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงใต้
                ปลายกิ่ง แผ่นใบหนา เส้นใบไม่ชัดเจน ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น ออกสั้น ๆ   และภาคใต้ โดยเฉพาะฝั่งอ่าวไทย ค�าระบุชนิดตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวดัตช์
                ตามซอกใบ ใบประดับย่อย 2 ใบเชื่อมติดกันที่โคน กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวน  Alexander Zippelius (1797-1828)
                อย่างละ 5-6 กลีบ กลีบเลี้ยงแฉกลึก หนา ติดทน กลีบดอกเชื่อมติดกันที่โคน   เอกสารอ้างอิง
                หุ้มเกสรเพศผู้ ขอบกลีบมีขนรูปตะขอ จานฐานดอกจักเป็นพูตื้น ๆ เกสรเพศผู้   Hou, D. (1970). Rhizophoraceae. In Flora of Thailand Vol. 2(1): 10-12.
                10-12 อัน อับเรณูติดด้านหลัง รังไข่กึ่งใต้วงกลีบ มี 3 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด   Hughes, R.H. and S. Sukardjo. (1992). Ceriops decandra (Griff.) Ding Hou. In
                ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรเรียบหรือจักตื้น ๆ ผลสดส่วนมากมีเมล็ดเดียว   Plant Resources of South-East Asia. No. 3: Dye and tannin-producing
                                                                          plants. Prosea Foundation, Bogor, Indonesia. pp. 65-67.
                ต้นอ่อนใต้ใบเลี้ยง (hypocotyl) รูปกระบอง มีริ้วหรือเป็นสัน  Sheue, C.R., H.Y. Liu, C.C. Tsai, S.M.A. Rashid, J.W.H. Yong, and Y.P. Yang.
                                                                          (2009). On the morphology and molecular basis of segregation of two
                   สกุล Ceriops มี 5 ชนิด เป็นไม้ในป่าโกงกาง พบที่แอฟริกา เอเชีย และออสเตรเลีย   species Ceriops zippeliana Blume and C. decandra (Griff.) Ding Hou
                   ในไทยมี 3 ชนิด ชื่อสกุล มาจากภาษากรีก ‘ceras-opsis’ เขา หมายถึงส่วนที่ี่งอก  (Rhizophoraceae) from southeastern Asia. Blumea 54: 220-227.
                   ของต้นอ่อนใต้ใบเลี้ยงคล้ายเขา ลักษณะที่ใช้จำาแนกชนิดคือ จำานวนแถวและต่อม
                   ที่โคนหูใบด้านใน รยางค์ที่ปลายกลีบดอก จำานวนดอก และต้นอ่อนใต้ใบเลี้ยง

                โปรงขาว
                Ceriops decandra (Griff.) Ding Hou
                  ชื่อพ้อง Bruguiera decandra Griff.
                   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูง 2-10 ม. เปลือกสีเทาลอกเป็นแผ่น หูใบยาว 1.2-2.5 ซม.
                โคนด้านในมี 50-70 ต่อม เรียง 7-8 ชั้น ใบรูปไข่หรือรูปไข่กลับ ยาว 4-9 ซม.
                ก้านใบยาว 1.2-2.5 ซม. ช่อดอกมี 4-12 ดอก ใบประดับย่อยแยก 2 แฉก ยาว
                1-2 มม. มีต่อมด้านใน 1-3 ต่อม กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาวประมาณ 4 มม. ดอกสีขาว  โปรงขาว: หูใบยาว ช่อดอกคล้ายแบบช่อกระจุกสั้น ๆ ตามซอกใบ กลีบเลี้ยงติดทน (ภาพ: กระบี่ - NP)
                เปลี่ยนเป็นสีน�้าตาล กลีบรูปสามเหลี่ยมแคบ ยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง ขอบมีขนครุย
                รยางค์จักเป็นพู่ ปลายอับเรณูมีรยางค์ 1 อัน ก้านเกสรเพศเมียยาว 2.5-3 มม.
                ผลรูปไข่ ยาวประมาณ 8 มม. ต้นอ่อนใต้ใบเลี้ยงยาว 8-13 ซม. โค้งงอ มีสัน
                ตามยาว ชี้ขึ้นหรือลงเล็กน้อย ปลายแหลมมน โคนสีน�้าตาล
                   พบที่แอฟริกา อินเดีย ศรีลังกา บังกลาเทศ พม่า คาบสมุทรมลายู ในไทยพบทาง
                ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ส่วนมากพบทางฝั่งทะเลอันดามัน เปลือกใช้
                ย้อมผ้าบาติก สารสกัดจากใบมีคุณสมบัติลดน�้าตาลในเลือดของหนูทดลอง

                โปรงแดง                                               โปรงแดง: ดอกเปลี่ยนเป็นสีน�้าตาล ต้นอ่อนใต้ใบเลี้ยงห้อยลง เรียบ โคนสีครีม (ภาพช่อดอก: ประจวบคีรีขันธ์,
                Ceriops tagal (Perr.) C. B. Rob.                     ภาพผล: ตรัง; - NP)
                  ชื่อพ้อง Rhizophora tagal Perr.
                   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น ส่วนมากสูง 2-10 ม. หรืออาจสูงได้ถึง 30-40 ม. เปลือกสีเทา
                หรือน�้าตาลแดง แตกเป็นสะเก็ดหรือร่องตามยาว หูใบยาว 1-2.5 ซม. โคนด้านใน
                มี 165-205 ต่อม เรียง 24-26 ชั้น ใบรูปไข่ รูปไข่กลับ หรือรูปขอบขนาน ยาว
                4-12 ซม. ก้านใบยาว 1-3.5 ซม. ช่อดอกมี 4-10 ดอก ใบประดับย่อยรูปถ้วย
                ยาวประมาณ 2.5 มม. กลีบเลี้ยงรูปไข่แกมรูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 5 มม.
                บานออกในผล ดอกสีขาวหรือครีม เปลี่ยนเป็นสีน�้าตาล กลีบรูปไข่กลับหรือแกม
                รูปขอบขนาน ยาว 3.5-4 มม. ปลายตัด รยางค์รูปกระบอง 3 อัน มีต่อมกระจาย   โปรงหมู: ใบเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ปลายใบมนกลม ต้นอ่อนใต้ใบเลี้ยงยาว ชี้ขึ้น (ภาพ: บ้านแหลม เพชรบุรี - NP)

                270






        58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd   270                                                                 3/1/16   5:52 PM
   285   286   287   288   289   290   291   292   293   294   295