Page 295 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 295
ผักค้างคาว สารานุกรมพืชในประเทศไทย ผักคาวทอง
Hedyotis ovatifolia Cav.
วงศ์ Rubiaceae
ไม้ล้มลุก สูง 10-20 ซม. ล�าต้นเป็นเหลี่ยม มีขนสั้นนุ่มตามล�าต้น แผ่นใบด้านล่าง
และก้านใบ หูใบร่วมรูปรีกว้าง ยาว 1-2.5 มม. จัก 1-3 พู ใบเรียงตรงข้ามสลับ
ตั้งฉาก ส่วนมากมี 2 คู่ รูปรีหรือรูปไข่ ยาว 1-6 ซม. ปลายแหลมหรือกลม โคนกลม
ผักขมหิน: B. diffusa ใบเรียงตรงข้ามขนาดไม่เท่ากัน ขอบมีต่อมขนสีแดง ช่อดอกแบบช่อกระจุกคล้ายช่อซี่ร่ม หรือตัด ก้านใบสั้นหรือยาวประมาณ 5 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง
แยกแขนง ดอกรูประฆัง ผลรูปคล้ายกระบอง มีต่อมเหนียว (ภาพใบ: สระบุรี - RP; ภาพช่อดอก: กรุงเทพฯ - SSu)
ออกที่ยอด 1-7 ช่อ ยาว 3-10 ซม. ก้านช่อยาว 1.5-4 ซม. ใบประดับขนาดเล็ก
ก้านดอกยาวได้ถึง 1.2 ซม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ดอกรูประฆัง
หลอดกลีบดอกยาว 1-1.5 มม. ปากหลอดมีขนเครายาว มี 4 กลีบ รูปขอบขนาน
ยาวกว่าหลอดกลีบเล็กน้อย ปลายเป็นติ่งแหลม เกสรเพศผู้ 4 อัน เกสรเพศเมีย
สั้นกว่าเกสรเพศผู้ ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก ผลแห้งแตก รูปรีกว้าง ปลายตัด
เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3 มม. เมล็ดจ�านวนมากขนาดเล็ก เป็นเหลี่ยม
พบที่ปากีสถาน อินเดีย เนปาล ศรีลังกา จีนตอนใต้ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ในไทย
ส่วนมากพบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออก และภาคตะวันตกเฉียงใต้ ขึ้นใต้ร่มเงา
ในป่าเบญจพรรณและป่าดิบแล้ง ความสูง 100-1300 เมตร
สกุล Hedyotis L. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Rubioideae เผ่า Spermacoceae คล้ายกับ
สกุล Oldenlandia และอาจถูกแยกออกเป็นหลายสกุลรวมถึงชนิดนี้ เดิมมีประมาณ
200 ชนิด พบในเอเชียและหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมีประมาณ 25 ชนิด ชื่อสกุล
มาจากภาษากรีก “hedys” หอม และ “otos” หู ตามลักษณะดอกและมีกลิ่นหอม
ผักขมหิน: B. erecta ใบมีขน ช่อดอกแยกแขนง 4-6 ครั้ง แผ่กระจาย ดอกไร้ก้านหรือมีก้าน ส่วนมากสีขาว
ผลรูปกรวยกลับปลายตัด มีสันแหลม เกลี้ยง (ภาพ: สระบุรี - RP) เอกสารอ้างอิง
Chen, T., and C.M. Taylor. (2011). Rubiaceae (Hedyotis). In Flora of China Vol.
ผักขาเขียด 19: 167.
Ceratopteris thalictroides (L.) Brongn. Wangwasit, K. and P. Chantaranothai. (2015). Notes on Hedyotis L. (Rubiaceae)
from Thailand. Phytotaxa 206(1): 47-52.
วงศ์ Pteridaceae
ชื่อพ้อง Acrostichum thalictroides L.
เฟินขึ้นบนดินที่ชื้นแฉะหรือลอยน�้า เหง้าสั้นตั้งขึ้น มีเกล็ดสีน�้าตาลเข้ม ใบประกอบ
2-3 ชั้น เรียงเวียนชิดกัน ก้านใบยาว 10-40 ซม. แกนกลางใบประกอบเป็นร่อง
ด้านบน แผ่นใบรูปสามเหลี่ยมหรือรูปขอบขนาน ใบย่อยแฉกลึก ขอบเรียบ เกลี้ยง
มี 2 แบบ ใบไม่สร้างสปอร์ยาวไม่เกิน 10 ซม. หรือยาวได้ถึง 35 ซม. ใบสร้างสปอร์
ส่วนมากขนาดใหญ่และยาวกว่า ยาว 20-60 ซม. แฉกลึกรูปแถบ กว้างประมาณ
2 มม. ยาว 1.5-5 ซม. ปลายแหลม ขอบบางโปร่งแสง ม้วนลง กลุ่มอับสปอร์ ผักค้างคาว: ใบเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก มีประมาณ 2 คู่ ช่อดอกออกป็นกระจุกที่ยอด ปากหลอดกลีบดอกด้านใน
ออกเดี่ยว ๆ เรียงแน่นบนเส้นใบ มีก้านสั้น ๆ มีขนเครายาว ผลแห้งแตก รูปรีกว้าง ปลายตัด (ภาพ: น�้าตกห้วยตาด ตาก - RP)
พบทั่วไปในเขตร้อนทั้งในอเมริกา แอฟริกา มาดากัสการ์ เอเชีย ออสเตรเลีย ผักคาวทอง
และหมู่เกาะแปซิฟิก ส่วนมากขึ้นในที่มีน�้าท่วมขังหรือทุ่งนา ใบกินเป็นผักสด ทั้งต้น Houttuynia cordata Thunb.
ใช้ประคบแผลสดเพื่อให้เลือดหยุดไหล คั้นน�้าดื่มเป็นยาบ�ารุง ขับเสมหะ วงศ์ Saururaceae
สกุล Ceratopteris Brongn. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Parkerioideae มี 5-7 ชนิด ในไทย ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 50 ซม. เหง้าทอดเลื้อย ส่วนต่าง ๆ มีกลิ่น มีรากตามข้อ หูใบ
มีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “keratos” เขา และ “pteris” เฟิน ตาม คล้ายกาบ รูปใบหอก ยาวได้ถึง 2 ซม. โคนโอบรอบล�าต้น ขอบมีขนครุย ใบเรียงเวียน
ลักษณะการแตกของใบ รูปไข่กว้างคล้ายรูปหัวใจ ยาว 2-10 ซม. เส้นโคนใบ 5-7 เส้น ก้านใบยาว 1.5-4 ซม.
ใบประดับคล้ายกลีบดอก 4 ใบ รูปขอบขนาน ยาว 1-1.5 ซม. หรือมีอีก 2-4 กลีบ
เอกสารอ้างอิง คล้ายรูปแถบ ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ดูคล้ายเป็นดอกเดี่ยว ยาว 0.5-2.5 ซม.
Lin, Y. and S. Masuyama. (2013). Pteridaceae (Ceratopteris). In Flora of China ก้านช่อยาว 1.5-3 ซม. ดอกย่อยไม่มีกลีบเลี้ยงและกลีบดอก ใบประดับย่อยรูปแถบ
Vol. 2-3: 180. ขนาดเล็ก เกสรเพศผู้ 3 อัน ติดที่โคนรังไข่ ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 6 มม.
Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and รังไข่กึ่งใต้วงใบประดับ ก้านเกสรเพศเมีย 3 อัน กางออก ติดทน ผลแห้งแตก
Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1989). Parkeriaceae. In Flora of Thailand Vol. ที่ปลาย รูปคนโท ยาว 2-3 มม. เมล็ดรูปไข่ ยาวประมาณ 1 มม.
3(2): 184-185. พบที่เนปาล ภูฏาน อินเดีย พม่า จีน ญี่ปุ่น เกาหลี และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ในไทยส่วนมากพบทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้นตามที่โล่งที่
ชื้นแฉะ ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร ใบและรากมีกลิ่นคาว กินเป็นผักสด มี
สรรพคุณแก้อักเสบต่าง ๆ แก้ไข้ ท้องเสีย ลดความดัน ในญี่ปุ่นท�าเป็นเครื่องดื่ม
คล้ายชา เรียกว่า ‘dokudami cha’
สกุล Houttuynia Thunb. มีชนิดเดียว ทั้งวงศ์ Saururaceae มี 5 สกุล 6 ชนิด
พบในเอเชียและอเมริกาเหนือ ในไทยพบสกุลเดียว ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์
ชาวดัตช์ Maarten Houttuyn (1720-1798)
เอกสารอ้างอิง
ผักขาเขียด: ใบประกอบ 2-3 ชั้น เรียงเวียนชิดกัน ใบสร้างสปอร์ แฉกลึกรูปแถบ กลุ่มอับสปอร์เรียงแน่นบนเส้นใบ Larsen, K. (2000). Saururaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(2): 344-346.
(ภาพ: cultivated - SSa) Xia, N. and A.R. Brach. (1999). Saururaceae. In Flora of China Vol. 4: 108-109.
275
58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd 275 3/1/16 5:54 PM