Page 294 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 294
ผักกูดป่า
ผักกูดป่า, สกุล สารานุกรมพืชในประเทศไทย
Cyclosorus Link
วงศ์ Thelypteridaceae
เฟินขึ้นบนพื้นดิน เหง้าทอดเลื้อยหรือตั้งตรง มีเกล็ดหนาแน่น ใบประกอบชั้นเดียว
หรือคล้ายแบบ 2 ชั้น แผ่นใบส่วนมากมีขนตามเส้นใบทั้งสองด้าน เส้นแขนงใบ
เรียงเดี่ยว ๆ หรือแตกเป็นง่าม เส้นใบช่วงโคนเรียงจรดขอบจัก กลุ่มอับสปอร์กลม
ติดประมาณช่วงกลางเส้นใบย่อย เยื่อคลุมรูปคล้ายไต อับสปอร์มีขนหรือต่อม
สปอร์มีสันเป็นปีกหรือหนามทู่ ๆ
ผักกูดหม่อน: ขึ้นตามที่โล่งที่ชื้นแฉะ ใบย่อยเรียงห่างกัน ไร้ก้าน ขอบจักเป็นพู กลุ่มอับสปอร์เรียงตามขอบจัก
สกุล Cyclosorus มีประมาณ 250 ชนิด พบในเขตร้อนทั้งในอเมริกา แอฟริกา เรียงชิดกันเป็นแถว (ภาพ: ทองผาภูมิ กาญจนบุรี - PK)
และเอเชีย ในไทยมี 44 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “kyklos” วงกลม และ
“soros” ที่หุ้มสปอร์ ตามลักษณะเยื่อคลุมกลุ่มอับสปอร์ ผักขมหิน, สกุล
Boerhavia L.
ผักกูดป่า วงศ์ Nyctaginaceae
Cyclosorus dentatus (Forssk.) Ching ไม้ล้มลุกทอดนอนหรือทอดเลื้อย ใบเรียงตรงข้าม ขนาดมักไม่เท่ากัน ช่อดอก
ชื่อพ้อง Polypodium dentatum Forssk. แบบช่อกระจุกคล้ายช่อซี่ร่มแยกแขนงห่าง ๆ ใบประดับขนาดเล็ก ดอกรูประฆัง
เฟินขึ้นบนดิน เหง้าสั้น มีขนหนาแน่น เกล็ดสีน�้าตาลเรียวแคบ ยาวประมาณ วงกลีบรวมคอดเว้าเหนือรังไข่ มี 5 กลีบ ปลายตัดหรือพับจีบ เกสรเพศผู้ 1-5 อัน
8 มม. ขอบมีขนประปราย ใบประกอบยาว 30-90 ซม. ก้านใบแข็ง ยาว 15-60 ซม. ไม่ยื่นพ้นหลอดกลีบหรือยื่นเพียงเล็กน้อย ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกันที่โคน รังไข่เบี้ยว
เป็นร่องลึกมีเกล็ดที่โคน ใบย่อย 12-25 คู่ เรียงห่าง ๆ รูปแถบ ยาว 4-15 ซม. มีก้าน ยอดเกสรเพศเมียเป็นตุ่ม ผลคล้ายผลแห้งเมล็ดล่อน รูปกรวยกลับหรือ
ปลายเรียวแหลม โคนตัดหรือเว้าเป็นติ่ง ก้านใบสั้นมากหรือไร้ก้าน ขอบจักเป็นพูลึก คล้ายกระบอง เป็นสัน 5 สัน มักมีขนต่อมเหนียว มีเมล็ดเดียว
โค้ง รูปขอบขนาน เบี้ยว ปลายมน แผ่นใบมีขนทั้งสองด้าน กลุ่มอับสปอร์กลม
เรียงขนานกับเส้นใบ เยื่อคลุมมีขนหนาแน่น สกุล Boerhavia มีประมาณ 50 ชนิด พบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน ในไทยมี
2 ชนิด และอาจมี B. repens L. และ B. coccinea Mill. ซึ่งมักสับสนและคล้าย
พบในเขตร้อน ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามที่แห้งแล้งหรือที่ลุ่มน�้าขัง และป่าพรุ
ความสูงถึงประมาณ 2000 เมตร กับ B. diffusa L. มาก ลำาต้นไม่ทอดเลื้อย มีขนทั่วไป ช่อดอกออกตามซอกใบ
หรือปลายกิ่งไม่ชัดเจน ส่วนชนิด B. chinensis (L.) Asch. & Schweinf. ในที่นี้
ให้เป็นชื่อพ้องของขี้อ้นเครือ Commicarpus chinensis (L.) Heimerl ซึ่งช่อดอก
ผักกูดหม่อน แบบช่อซี่ร่ม ดอกรูปแตร เกสรเพศผู้และเพศเมียยื่นเลยปากหลอดกลีบ ผลมี
Cyclosorus interruptus (Willd.) H. Ito ตุ่มนูนขึ้นชัดเจน ชื่อสกุลตั้งตามนายแพทย์และนักพฤกษศาสตร์ชาวดัตช์ Herman
ชื่อพ้อง Pteris interrupta Willd., Thelypteris interrupta (Willd.) K. Iwats. Boerhaave (1668-1739)
เฟินขึ้นบนดิน เหง้าเกาะเลื้อย เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4 มม. เกล็ดรูป
สามเหลี่ยมสีน�้าตาล ยาวประมาณ 2.5 มม. ร่วงเร็ว ใบประกอบยาว 22-60 ซม. ผักขมหิน
ก้านใบยาว 22-70 ซม. ใบย่อย 14-25 คู่ รูปแถบ ยาว 6-15 ซม. หรือยาวได้ถึง Boerhavia diffusa L.
20 ซม. เรียงห่างกัน ปลายเรียวแหลม โคนกลม ไร้ก้านหรือมีก้านสั้น ๆ ขอบจัก
เป็นพูลึกไม่เกินกึ่งหนึ่ง รูปขอบขนาน ปลายมน มีติ่งแหลม เส้นกลางใบส่วนมาก ไม้ล้มลุก ล�าต้นทอดเลื้อยยาวได้ถึง 1-2 ม. รากหนา ใบรูปไข่แกมรูปขอบขนาน
มีขนและเกล็ดประปราย แผ่นใบมีขนหรือต่อมตามเส้นใบ กลุ่มของอับสปอร์ หรือรูปใบหอก ยาว 1-5 ซม. ปลายแหลมหรือมน โคนกลมหรือตัด ขอบใบมีต่อมขน
เกิดบริเวณขอบใบย่อย เรียงชิดกันเป็นแถว สีแดง ก้านช่อดอกยาว ใบประดับรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ปลายเรียวแหลม ติดทน
พบในเขตร้อน ในไทยพบทุกภาค โดยเฉพาะภาคใต้ ขึ้นรวมกันเป็นกลุ่มใหญ่ แต่ละช่อกระจุกย่อยส่วนมากมี 2-5 ดอก ดอกสีชมพู แดง หรือขาว ก้านดอกสั้น
หรือไร้ก้าน กลีบรวม 1.5-2 มม. ปลายจักตื้น ๆ เกสรเพศผู้ส่วนมากมี 2-3 อัน
ตามที่โล่งที่น�้าท่วมขัง และขอบป่าพรุ ความสูงระดับต�่า ๆ
ยื่นพ้นหลอดกลีบเล็กน้อย ผลรูปคล้ายกระบอง ปลายมนกลม มี 5 สัน ยาว 2-3.5 มม.
เอกสารอ้างอิง มีต่อมเหนียวกระจายและขนประปราย
Lin, Y., L. Zhongyang and K. Iwatsuki. (2013). Thelypteridaceae (Cyclosorus).
In Flora of China Vol. 2-3: 372, 374, 377. เป็นวัชพืชทั่วไปในเขตร้อน กินเป็นผักสด มีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง
Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and ในออสเตรเลียถือว่าเป็นวัชพืชชั้นดี ใช้เลี้ยงแกะและวัว
Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1988). Thelypteridaceae (Thelypteris). In Flora of ผักขมหิน
Thailand 3(2): 400, 427.
Boerhavia erecta L.
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 1 ม. ล�าต้นตั้งตรงหรือทอดเลื้อย ใบส่วนมากอยู่ช่วงล่าง
ของล�าต้น ใบรูปไข่หรือคล้ายสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด แกมรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก
ยาว 2-8 ซม. ปลายแหลม โคนกลมหรือตัด ขอบบางครั้งเว้าเป็นคลื่น แผ่นใบมี
ขนละเอียดและจุดโปร่งใสกระจาย ก้านใบยาว 0.5-5.5 ซม. ช่อดอกแยกแขนง
หลายครั้ง แผ่กระจาย ช่อดอกย่อยส่วนมากมี 1-5 ดอก ไร้ก้านหรือก้านยาวได้ถึง
5 มม. ดอกส่วนมากสีขาว หรือมีปื้นชมพูหรือม่วง กลีบรวมยาวประมาณ 2 มม.
เกสรเพศผู้ 1-4 อัน ยื่นพ้นปากหลอดกลีบเล็กน้อย ผลรูปกรวยกลับปลายตัด
มี 5 สัน ปลายสันมักแหลม เกลี้ยง ยาว 2-4 มม.
เป็นวัชพืชทั่วไปในเขตร้อน มีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง โดยเฉพาะราก
เอกสารอ้างอิง
Larsen, K. (1991). Nyctaginaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(3): 371-374.
ผักกูดป่า: ใบย่อยเรียงห่าง ๆ ขอบจักเป็นพู กลุ่มอับสปอร์กลม เรียงขนานเส้นใบ เยื่อคลุมมีขนหนาแน่น Lu, D. and M.G. Gilbert. (2003). Nyctaginaceae. In Flora of China Vol. 5:
(ภาพ: เขาบรรทัด ตรัง - TP) 433-434.
274
58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd 274 3/1/16 5:54 PM