Page 299 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 299
ยาว 5-6 มม. ดอกรูปแตร สีชมพูหรืออมม่วงอ่อน โคนด้านในมีสีเข้ม ยาว 7-9 ซม. สารานุกรมพืชในประเทศไทย ผักบุ้งรั้ว
หลอดกลีบดอกด้านนอกและแถบกลางกลีบมีนวลแป้ง รังไข่มีขนละเอียด ผลรูปไข่
ยาว 1.5-2 ซม. ปลายเป็นติ่งแหลม เมล็ดขนาดประมาณ 1 ซม. มีขนยาวคล้ายไหม
สีน�้าตาลหนาแน่น
มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกาเขตร้อน เป็นไม้ประดับทั่วไปในเขตร้อน รากและน�้ายาง
เป็นยาระบาย แต่อาจเป็นพิษโดยเฉพาะต่อสัตว์เลี้ยง
ผักบุ้งระย้า
Ipomoea wangii C. Y. Wu
ไม้เถาล้มลุก ยาวได้ถึง 10 ม. ส่วนต่าง ๆ เกลี้ยง ใบรูปไข่กว้างเกือบกลม
ยาว 6-14 ซม. ปลายแหลมยาว มีติ่งแหลม โคนรูปหัวใจ แผ่นใบบาง ก้านใบสีม่วง
ยาว 4.5-9 ซม. ช่อดอกมี 1-3 ดอก ก้านดอกยาว 1-6 ซม. ปลายก้านหนา กลีบเลี้ยง
ขอบบาง กลีบคู่นอกรูปรีหรือรูปไข่ ปลายมน ยาว 1.5-2 ซม. กลีบใน 3 กลีบ รูปรี ผักบุ้งขัน: ไม้เถาล้มลุกทอดเลื้อย ใบรูปกลมหรือรูปคล้ายไต ปลายกลมหรือเว้าตื้น ๆ โคนเว้าลึกเป็นพู กลีบเลี้ยงยาว
ปลายแหลม ยาว 1.7-2.6 ซม. ดอกรูปแตร สีชมพูอมม่วง โคนด้านในมีสีเข้ม ยาว ไม่เท่ากัน ติดทน ผลรูปกลม ๆ (ภาพ: ร้อยเอ็ด - PK)
6-7.7 ซม. รังไข่เกลี้ยง ผลรูปไข่ ยาวประมาณ 2 ซม. เมล็ดยาว 7-8 มม. ด้านข้าง
มีขนก�ามะหยี่สีน�้าตาล สันมีขนสีเหลืองยาวประมาณ 1 ซม.
พบที่จีนตอนใต้ และพม่า ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทางภาคเหนือที่พิษณุโลก และ
ภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี เพชรบุรี ขึ้นตามชายป่า ความสูง 600-1250 เมตร
ผักบุ้งรั้ว
Ipomoea cairica (L.) Sweet
ชื่อพ้อง Convolvulus cairicus L.
ไม้เถาล้มลุก ยาวได้ถึง 5 ม. มีเหง้า หูใบคล้ายใบ ใบรูปฝ่ามือ แฉกลึกถึงโคน
5 แฉก รูปรี รูปไข่ หรือแกมรูปใบหอก ยาว 2.5-5 ซม. แฉกกลางขนาดใหญ่กว่า
แฉกข้าง ก้านใบยาว 2-8 ซม. ก้านช่อดอกยาว 2-8 ซม. ก้านดอกยาว 0.5-2 ซม.
กลีบเลี้ยงขยายในผล ขนาดไม่เท่ากัน ยาว 4-9 มม. ดอกรูปล�าโพง สีม่วงอมชมพู
หรือม่วงแดง โคนด้านในมักมีสีเข้ม ยาว 2.5-7 ซม. รังไข่เกลี้ยง ผลกลม ๆ ผักบุ้งคาย: ส่วนต่าง ๆ มีขนยาวสีขาว ใบรูปไข่กว้างเกือบกลม โคนรูปหัวใจกว้าง ดอกรูปแตร สีชมพู โคนด้านในมี
เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 ซม. เมล็ดขนาดประมาณ 5 มม. สีด�า มีขนสั้นนุ่ม สีเข้ม (ภาพ: พัทลุง - RP)
หนาแน่น ขอบมีขนยาว
พบในอเมริกาใต้ แอฟริกา เอเชีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ขึ้นเป็นวัชพืช ความสูง
ถึงประมาณ 1000 เมตร
ผักบุ้งรั้ว
Ipomoea mauritiana Jacq.
ไม้เถาล้มลุก ยาวได้ถึง 10 ม. มีหัวใต้ดิน ใบรูปฝ่ามือ กว้าง 7-22 ซม. ยาว
7-18 ซม. มี 5-7 แฉก แฉกลึกประมาณกึ่งหนึ่ง รูปรีหรือรูปใบหอก ก้านใบยาว
3-10 ซม. ก้านช่อดอกยาว 2-20 ซม. ก้านดอกหนา ยาว 1-1.2 ซม. กลีบเลี้ยงรูปรี
ปลายมน ขนาดเท่า ๆ กัน หรือคู่นอกสั้นกว่าเล็กน้อย ยาว 0.7-1.2 ซม. ดอกรูปล�าโพง
สีชมพูหรือม่วงแดง ยาว 5-6 ซม. รังไข่เกลี้ยง ผลรูปไข่ ยาว 1.2-1.4 ซม. เมล็ดขนาด
ประมาณ 6 มม. สีน�้าตาลเข้ม ขนนุ่มคล้ายไหมและขนยาว
พบที่ศรีลังกา จีน พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย นิวกินี และหมู่เกาะ ผักบุ้งทะเล: แผ่นใบหนา ปลายใบเว้า ช่อดอกแบบช่อกระจุก แถบและโคนกลีบด้านในมีสีเข้ม ผลแห้งแตกเป็น 4 ซีก
แปซิฟิก ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามที่โล่ง ชายป่า ความสูงถึงประมาณ 400 เมตร เมล็ดมีขนสีน�้าตาลหนาแน่น (ภาพ: บางสะพาน ประจวบคีรีขันธ์ - RP)
มีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง ดอกหนาใช้ปรุงอาหารในจีน และอินเดีย
เอกสารอ้างอิง
Fang, R. and G. Staples. (1995). Convolvulaceae. In Flora of China Vol. 16:
308-380.
Staples, G. (2010). Convolvulaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(3): 403-427.
ผักบุ้ง: ใบรูปใบหอก ปลายแหลมหรือแหลมยาว โคนตัด รูปหัวใจหรือเงี่ยงลูกศร ดอกสีม่วงอ่อน โคนด้านในมีสีเข้ม
หรือดอกสีขาวล้วน (ภาพ: ระโนด สงขลา - RP) ผักบุ้งทะเลขาว: ปลายใบมน เว้าตื้น โคนตัดหรือเว้าตื้น ๆ ดอกรูปแตร สีขาว (ภาพ: บางเบิด ชุมพร - RP)
279
58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd 279 3/1/16 5:55 PM