Page 304 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 304
ผักเสี้ยน
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
พบที่จีนตอนใต้ พม่า และภาคเหนือของไทยที่ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ผักเสี้ยนขน
ขึ้นบนเขาหินปูนที่โล่ง ความสูง 1800-2100 เมตร Cleome rutidosperma DC.
เอกสารอ้างอิง ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 1 ม. มีต่อมขนกระจายหรือเกลี้ยง ก้านใบประกอบยาว
Chen, T. and F. Ehrendorfer. (2011). Rubiaceae (Rubia). In Flora of China Vol. 0.5-3.5 ซม. มี 3 ใบย่อย รูปใบหอกกลับหรือคล้ายสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด ยาว
19: 305, 311.
1-3.5 ซม. บางครั้งมีขนครุย ใบประดับคล้ายใบมี 3 ใบย่อย ยาว 1-3.5 ซม. ก้านสั้น
ช่อดอกยาว 2-4 ซม. มีได้ประมาณ 6 ดอก ก้านดอกยาว 1-2 ซม. ก้านช่อดอกและ
ก้านดอกขยายในผล กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาว 2.5-4 มม. ขอบมีขนครุย ดอกส่วนมาก
สีม่วงอ่อน กลีบคู่บนมักมีสีขาวที่โคนกลีบ รูปรีหรือขอบขนาน ยาว 0.7-1 ซม.
เกสรเพศผู้ 6 อัน ก้านชูอับเรณูสีขาวอมม่วง ยาว 5-7 มม. อับเรณูสีเทา รังไข่มีก้าน
สั้น ๆ ขยายในผลยาวได้ถึง 1 ซม. ผลมีริ้ว ยาว 4.5-7 ซม. เมล็ดสีน�้าตาลแดงปนด�า
มีถิ่นก�าเนิดในแอฟริกา ขึ้นเป็นวัชพืชทั่วไปในเอเชีย อเมริกา และออสเตรเลีย
น�้าสกัดจากใบและน�้ามันจากเมล็ดทาแก้โรคผิวหนังและปวดข้อ
ผักเสี้ยนป่า
ผักสี่ทิศ: ล�าต้นเกลี้ยง เส้นกลางใบชัดเจน ผลสด ฝ่อหนึ่งพู สุกสีด�า (ภาพ: ดอยอินทนนท์ เชียงใหม่ - RP)
Cleome chelidonii L. f.
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 1 ม. ล�าต้นเป็นเหลี่ยม ก้านใบประกอบยาว 2-5 ซม. มี
3 ใบย่อย ใบช่วงโคนส่วนมากมีใบย่อย 5 หรือ 7 ใบ รูปไข่กลับหรือรูปใบหอกกลับ
ยาว 3-6 ซม. ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง หรือออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ ก้านดอกยาว
2.5-4 ซม. กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาว 3-4 มม. ดอกสีชมพู กลีบรูปไข่กลับ ยาว 1.2-1.5 ซม.
เกสรเพศผู้จ�านวนมาก ไม่มีก้านชูเกสรเพศเมีย รังไข่รูปเส้นด้าย ยาว 0.5-1 ซม.
ผลเกลี้ยง ก้านยาว 3-4 ซม.
ผักสี่ทิศขนคาย: มีขนคายทั่วไป เส้นโคนใบ 3 เส้น ผลสด มี 2 พู พูหนึ่งส่วนมากฝ่อ (ภาพ: ดอยเชียงดาว เชียงใหม่ - PT)
พบในอินเดีย พม่า และภูมิภาคมาเลเซีย ขึ้นเป็นวัชพืชตามท้องนา ที่รกร้าง
ผักเสี้ยน, สกุล แต่หายากกว่าชนิดอื่น สารสกัดจากทั้งต้นใช้แก้โรคผิวหนัง จากรากใช้ฆ่าพยาธิ
Cleome L. ผักเสี้ยนผี
วงศ์ Cleomaceae Cleome viscosa L.
ไม้ล้มลุก ส่วนต่าง ๆ มีขนปกคลุม ใบประกอบรูปฝ่ามือ เรียงเวียน มี 3-7 ใบย่อย ชื่อพ้อง Arivela viscosa (L.) Raf.
ขอบส่วนมากจักซี่ฟันละเอียด ก้านใบยาว ช่อดอกแบบช่อกระจะหรือช่อเชิงหลั่น
ส่วนมากออกตามปลายกิ่ง บางครั้งออกเดี่ยวตามซอกใบ ดอกสมบูรณ์เพศ กลีบเลี้ยง ไม้ล้มลุก สูงได้ประมาณ 1 ม. ส่วนต่างๆ มีต่อมขนเหนียว ก้านใบประกอบ
4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ มีก้านกลีบ เกสรเพศผู้ส่วนมากมี 6 อัน หรือจ�านวนมาก ยาว 1-6 ซม. มี 3-5 ใบย่อย รูปรี รูปขอบขนาน หรือรูปไข่กลับ ยาว 1.5-4.5 ซม.
ก้านชูอับเรณูยาว มีก้านชูเกสรร่วมหรือไม่มี รังไข่มีช่องเดียว ออวุลจ�านวนมาก มีขนครุย ใบประดับคล้ายใบ มี 3 ใบย่อย ยาว 1-2.5 ซม. ก้านสั้น ร่วงเร็ว ช่อดอก
พลาเซนตาตามแนวตะเข็บคู่ เกสรเพศเมียมีก้านชู ก้านเกสรสั้น ยอดเกสรเป็นตุ่ม ยาว 5-10 ซม. ขยายในผล ก้านดอกยาว 1-1.4 ซม. ในผลยาวได้ถึง 3 ซม. กลีบเลี้ยง
ติดทน ผลแห้งแตก รูปทรงกระบอก แตกจากโคน เมล็ดจ�านวนมาก ขนาดเล็ก รูปใบหอก ยาว 0.5-1 ซม. ดอกสีเหลือง มักมีสีเข้มที่โคน กลีบรูปรี ยาว 0.7-1.2 ซม.
ผิวไม่เรียบ เกสรเพศผู้จ�านวนมากขนาดไม่เท่ากัน ก้านชูอับเรณูยาว 4-9 มม. อับเรณูสีเทา
อมเขียว รังไข่ไม่มีก้าน มีขนต่อมหนาแน่น ผลยาว 5-10 ซม. เป็นริ้วชัดเจน เมล็ด
สกุล Cleome เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Capparaceae มีประมาณ 20 ชนิด ส่วนใหญ่พบใน สีน�้าตาลแดง
อเมริกาเขตร้อนและเขตอบอุ่น ในไทยพบเป็นวัชพืช และไม้ประดับประมาณ 5 ชนิด พบทั่วไปในแอฟริกา เอเชีย และออสเตรเลีย ขึ้นเป็นวัชพืช บางครั้งพบบน
มีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง อนึ่ง ใน Flora of China ได้จำาแนกย่อย
เป็น 5 สกุล คือ Arivela, Cleoserrata, Cleome, Gynandropsis และ Tarenaya เขาหินปูนที่แห้งแล้ง เมล็ดมีน�้ามันและกรดลิโนเลอิก (Linoleic acid) สูง
ตามลักษณะ มีหรือไม่มีก้านชูเกสรร่วม (androgynophore) และก้านชูเกสรเพศเมีย
(gynophore) ซึ่งในที่นี้ยังคงให้อยู่ภายใต้สกุล Cleome พืชอีกสกุลที่พบในไทย ผักเสี้ยนฝรั่ง
คือ สกุลผักกุ่มเครือ Neothorelia ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “kleio” ปิด ตาม Cleome hassleriana Chodat
ลักษณะกลีบดอกที่หุ้มเกสรเพศผู้ ชื่อพ้อง Tarenaya hassleriana (Chodat) Iltis
ไม้ล้มลุก สูง 1-1.5 ม. มีขนต่อมเหนียวละเอียดทั่วไป ก้านใบประกอบยาว
ผักเสี้ยน 5-15 ซม. โคนมีหนามคล้ายหูใบ ใบย่อยมี 5-7 ใบ รูปขอบขนานหรือรูปใบหอกกลับ
Cleome gynandra L. ยาว 4-15 ซม. ก้านยาวประมาณ 5 มม. ช่อดอกออกที่ยอด ยาว 30-40 ซม. ก้านช่อ
ชื่อพ้อง Gynandropsis gynandra (L.) Briq. ยาวได้ถึง 5 ซม. ใบประดับคล้ายใบ รูปไข่หรือรูปหัวใจ ยาว 0.5-3 ซม. ก้านสั้น
ไม้ล้มลุก สูง 30-150 ซม. ส่วนต่าง ๆ มีต่อมขน ก้านใบประกอบยาว 3-8 ซม. โคนมีหนามเล็ก ๆ กลีบเลี้ยงรูปแถบ ยาวประมาณ 7 มม. มีขนด้านนอก ดอกสีชมพู
ใบย่อยมี 3-5 ใบ รูปไข่กลับหรือรูปใบหอกกลับ ยาว 2.5-5 ซม. ใบประดับคล้ายใบ ชมพูเข้ม ม่วงอ่อน หรือขาวล้วน รูปรี ยาวประมาณ 3 ซม. ก้านกลีบยาวกว่า 1 ซม.
มี 3 ใบย่อย ยาว 0.5-2.5 ซม. ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง ยาว 5-20 ซม. ขยายในผล ก้านชูเกสรร่วมสั้นมาก เกสรเพศผู้ 6 อัน ก้านชูอับเรณูยาว 3-5 ซม. อับเรณูรูปแถบ
ก้านดอกยาว 1-2 ซม. กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาวประมาณ 6 มม. ติดทน ดอกสีขาวหรือ ยาวประมาณ 1 ซม. ก้านชูเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1 ซม. ในผลยาวได้ถึง 6 ซม.
อมม่วง กลีบรูปรีหรือรูปไข่ ยาวประมาณ 7 มม. ก้านกลีบยาวประมาณ 5 มม. ผลรูปทรงกระบอก ยาวได้ถึง 6 ซม.
เกสรเพศผู้ 6 อัน ก้านชูเกสรร่วมยาว 0.8-2.3 ซม. ก้านชูอับเรณูสีม่วง ยาว 1-2 ซม. มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกาใต้ เป็นไม้ประดับหรือขึ้นเป็นวัชพืช คล้าย C. speciosa
อับเรณูสีเขียวอมน�้าตาล รูปขอบขนาน ยาว 1-3 มม. รังไข่มีก้านสั้น ๆ ขยายในผล Raf. ที่มีก้านชูเกสรร่วมยาว
ยาว 1-1.4 ซม. ผลยาว 4-9.5 ซม. เมล็ดสีน�้าตาลแดงปนด�า ยาวประมาณ 1.5 มม.
พบในเอเชีย และแอฟริกา ในไทยพบขึ้นเป็นวัชพืชตามท้องนา และริมล�าธาร เอกสารอ้างอิง
Chayamarit, K. (1991). Capparaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(3): 262-266.
ต้นสดมีกลิ่นคล้ายกลิ่นกัญชา มีสารพิษไฮโดรไซยาไนด์ แต่มีสรรพคุณด้านสมุนไพร Zhang, M. and G.C. Tucker. (2008). Cleomaceae. In Flora of China Vol. 7:
หลายอย่าง นิยมน�ามาท�าเป็นผักดอง 429-432.
284
58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd 284 3/1/16 5:56 PM