Page 308 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 308
ฝนแสนห่า
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
สกุล Maingaya Oliv. มีเพียงชนิดเดียว เป็นสกุลที่พบใหม่ของไทย ทำาให้พืชวงศ์
Hamamelidaceae ของไทยมีเพิ่มเป็น 6 สกุล ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์
ชาวอังกฤษ Alexander Carroll Maingay (1836-1869)
เอกสารอ้างอิง
Chamchumroon, V., M. Poopath and J. Sae Wai. (2015). Maingaya malayana,
a new genus and species record for Thailand. Thai Forest Bulletin
(Botany) 43: 1-3.
โผงเผง: กลีบดอกขนาดไม่เท่ากัน มีก้านกลีบสั้นๆ เกสรเพศผู้ขนาดใหญ่ 2 อัน ฝักโค้งเล็กน้อย เป็นเหลี่ยม มีขนหยาบ
(ภาพ: ท่าศาลา นครศรีธรรมราช - RP)
ฝนแสนห่า
Argyreia capitiformis (Poir.) Ooststr.
วงศ์ Convolvulaceae
ชื่อพ้อง Convolvulus capitiformis Poir.
ไม้เถาล้มลุก มีขนหยาบตามล�าต้น แผ่นใบ ใบประดับ ช่อดอก กลีบเลี้ยงและ
กลีบดอกด้านนอก ใบรูปไข่ รูปขอบขนาน หรือเกือบกลม ยาว 8-18 ซม. ปลายแหลม
หรือแหลมยาว โคนรูปหัวใจ ก้านช่อดอกยาว 6-30 ซม. ใบประดับรูปรีหรือ
รูปขอบขนาน ยาว 1.5-2.5 ซม. ติดทน ก้านดอกสั้นมากหรือไร้ก้าน กลีบเลี้ยง
รูปขอบขนาน ปลายแหลมยาว 3 กลีบนอกยาว 1.5-1.7 ซม. กลีบคู่ในยาว 1-1.2 ซม.
ดอกสีชมพูหรือม่วงอ่อน รูปปากแตร ยาว 4.5-5.5 ซม. เกสรเพศผู้ไม่ยื่นพ้นปากหลอด
กลีบดอก ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 1.5 ซม. โคนมีต่อมขนยาว รังไข่เกลี้ยง
ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 3 ซม. ไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก ผลกลม ฝอยทองมาเลย์: ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น มีได้ประมาณ 15 ดอก เกือบไร้ก้าน กลีบดอก 5 กลีบ รูปแถบ
เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 8 มม. สุกสีส้มแดง ส่วนมากมี 4 เมล็ด รูปไข่แกม (ภาพ: เบตง ยะลา - VC)
สามเหลี่ยม ยาวประมาณ 7 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ เครือพุงหมู, สกุล) ฝาง
พบที่อินเดีย จีน พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ในไทยพบทุกภาค ขึ้น Caesalpinia sappan L.
ตามชายป่า ที่โล่ง ความสูงถึงประมาณ 1400 เมตร ใบใช้ประคบแผลฟกช�้า วงศ์ Fabaceae
เอกสารอ้างอิง ไม้พุ่มกึ่งเลื้อยขนาดใหญ่ แตกกิ่งต�่า สูงได้ถึง 10 ม. ล�าต้นมีหนามหนาโค้ง
Staples, G. and P. Traiperm. (2010). Convolvulaceae (Argyreia). In Flora of หูใบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบประกอบย่อยมี 8-18 คู่ แกนกลางใบประกอบยาว
Thailand Vol. 10(3): 341-343.
15-40 ซม. ใบย่อยมี 6-20 คู่ รูปขอบขนาน ยาว 1-2 ซม. ปลายกลม เว้าตื้น
โคนเบี้ยว เกือบไร้ก้าน ช่อดอกแบบช่อกระจะ ยาว 15-30 ซม. มีหนาม ใบประดับ
รูปใบหอก ยาวประมาณ 6 มม. ดอกยาวประมาณ 1.8 ซม. ก้านดอกยาว 1.5-2 ซม.
มีขนสั้นนุ่ม กลีบเลี้ยงกลีบล่างโค้ง ใหญ่กว่ากลีบอื่น ดอกสีเหลือง กลีบกลางมีก้านกลีบ
ขนาดเล็ก เกสรเพศผู้ยาวประมาณ 1.2 ซม. ก้านชูอับเรณูมีขน รังไข่มีขน ฝักแบน แข็ง
รูปขอบขนาน กว้างเป็นเหลี่ยม ช่วงปลายมีจะงอย ยาว 7-12 ซม. มี 2-4 เมล็ด รูปรี
แบน ยาวประมาณ 1.8 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ หนามขี้แรด, สกุล)
พบที่ศรีลังกา อินเดีย พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ในไทย
พบทุกภาค ขึ้นตามป่าโปร่ง ป่าเบญจพรรณ หรือบนเขาหินปูนเตี้ย ๆ ความสูง
ระดับต�่า ๆ เนื้อไม้ หรือ sappan wood ให้สีแดงใช้ย้อมผ้า หรือท�าสีทาตัวส�าหรับ
งานเทศกาลในอินเดีย ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นสินค้าส่งออกที่ส�าคัญ และเป็น
เครื่องบรรณาการอย่างหนึ่ง แก่นมีฤทธิ์ฝาด ใช้รักษาโรคท้องร่วงและโรคผิวหนัง
ค�าระบุชนิด มาจากภาษามาเลย์ “sepang” ที่ใช้เรียกพืชชนิดนี้
ฝนแสนห่า: มีขนหยาบตามล�าต้น แผ่นใบ ใบประดับ ช่อดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก เกสรเพศผู้และเพศเมีย
ไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก (ภาพ: กาญจนบุรี - RP) เอกสารอ้างอิง
สังข์ พัธโนทัย. (2515). ปทานุกรม พรรณไม้ในตำานานเมือง อภินันทนาการใน
ฝอยทองมาเลย์ งานฌาปนกิจศพนางวรรณา ปาลิกะภัฎ 10 พฤษภาคม 2515 ศูนย์การพิมพ์
พระนคร หน้า 80-81.
Maingaya malayana Oliv. Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae. In
วงศ์ Hamamelidaceae Flora of Thailand Vol. 4(1): 65.
Wee, Y.C. and H. Keng. (1990). An illustrated dictionary of Chinese medicinal
ไม้ต้น สูงได้ถึง 25 ม. กิ่งช่วงปลายมีขนกระจุกสั้นนุ่ม หูใบขนาดเล็กมีขนสั้นนุ่ม herbs. Times Edition Pte Ltd., Time Centre, Singapore.
ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 7-25 ซม. ปลายแหลมยาว โคนมน
หรือกลม ก้านใบยาว 1.2-2.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น ก้านช่อยาวได้ถึง
1 ซม. มีได้ประมาณ 15 ดอก เกือบไร้ก้าน กลีบเลี้ยงขนาดเล็กร่วงเร็วก่อนดอกบาน
กลีบดอก 5 กลีบ รูปแถบ ยาว 0.8-1.2 ซม. เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดระหว่างกลีบดอก
ก้านชูอับเรณูสั้น แกนอับเรณูปลายโค้งคล้ายเขา เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 5 อัน
ยาวเท่า ๆ เกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์ จานฐานดอกจัก 10 พู แยกกัน รังไข่กึ่งใต้วงกลีบ
มีขนยาว มี 2 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 1 เม็ด ก้านเกสรเพศเมีย 2 อัน สั้น ๆ
ยอดเกสรแหลม ผลแห้งแตกแยกกันประมาณกึ่งหนึ่งเป็น 4 ส่วน ติดทนบนต้น
รูปรี ยาว 1-1.5 ซม. ก้านหนา ผนังแข็ง เมล็ดรูปรีแคบ สีขาว
พบที่คาบสมุทรมลายูตอนบน และภาคใต้ตอนล่างของไทยที่เบตง จังหวัดยะลา ฝาง: ช่อดอกแบบช่อกระจะ ดอกสีเหลือง กลีบกลางมีก้านกลีบ ฝักแบน รูปขอบขนาน กว้างเป็นเหลี่ยม ช่วงปลาย
ขึ้นตามป่าดิบเขา ความสูงประมาณ 900 เมตร มีจะงอย (ภาพ: เขาหินซ้อน ฉะเชิงเทรา - PT)
288
58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd 288 3/1/16 5:59 PM