Page 310 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 310
พญามะขามป้อม
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
1.5 ซม. ใบประดับรูปแถบ ยาวประมาณ 8 มม. ก้านดอกสั้น กลีบเลี้ยง 5 กลีบ
รูปแถบ ยาว 0.8-1.3 ซม. ปลายแหลมยาว ดอกตั้งขึ้น สีแดง ปลายมีริ้วสีเหลือง
อมเขียวด้านใน กลีบรูปปากเปิดคล้ายพลิกกลับ ยาว 3-4 ซม. โคนด้านในมีขน
กลีบล่างรูปรี ยาว 1-2 ซม. ปลายแยก 3 แฉก เรียงซ้อนเหลื่อม ยาว 3-5 มม.
กลีบบน 2 กลีบ รูปสามเหลี่ยมแคบ ยาว 1-2 ซม. ปลายเว้า เกสรเพศผู้ 2 อัน
ติดที่ปากหลอดกลีบดอก ก้านชูอับเรณูยาว 1-1.5 ซม. อับเรณูมีช่องเดียว ยาว
4-5 มม. รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียยาว 3-3.5 ซม. ยอดเกสรจัก 2 พู ผลแห้งแตก
รูปกระบอง ยาวประมาณ 2 ซม. มีขนยาว มี 4 เมล็ด ผิวเป็นร่างแห
พบที่จีน ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู ชวา ในไทยส่วนมากพบทาง
ภาคตะวันออกเฉียงใต้ มีสรรพคุณแก้ไข้ แผลไฟไหม้น�้าร้อนลวก แมลงสัตว์กัดต่อย
สกุล Clinacanthus Nees มี 2 ชนิด พบเฉพาะในเอเชียเขตร้อน ชนิด C. spirei
Benoist พบที่ลาว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “kline” เอนหรือเตียง และ “akantha” พญามะขามป้อม: ใบรูปแถบ ช่วงปลายกิ่งเรียงในระนาบเดียว ใบบนก้านช่อรูปเข็ม โคนเพศเมียออกเดี่ยว ๆ ที่ปลายกิ่ง
พืชมีหนาม หมายถึงพืชที่มีหนามเอน ตามลักษณะปลายใบที่คล้ายหนาม มีกาบประดับอวบน�้ารองรับ (ภาพใบ: cultivated - RP; ภาพโคนเพศเมีย: เพชรบูรณ์ - PK)
เอกสารอ้างอิง พญามุตติ
Hu, J.Q. and T.F. Daniel. (2011). Acanthaceae (Clinacanthus). In Flora of China
Vol. 19: 442. Grangea maderaspatana (L.) Poir.
วงศ์ Asteraceae
ชื่อพ้อง Artemisia maderaspatana L.
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 50 ซม. ล�าต้นทอดนอน มักมีขนยาวช่วงล่าง ใบเรียงเวียน
รูปไข่กลับ รูปใบพาย หรือรูปพิณ แฉกตื้น ๆ หรือจักเป็นพู 2-5 คู่ ยาว 3.5-10 ซม.
แผ่นใบมีขนยาวและต่อมกระจาย ขอบจักซี่ฟันห่าง ๆ ไร้ก้าน ช่อดอกแบบ
ช่อกระจุกแน่นรูปจาน ออกเดี่ยวหรือคู่ที่ปลายกิ่ง เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8-1 ซม.
ใบประดับเรียง 2-3 วง ยาว 4-8 มม. ปลายบาง ขอบจักชายครุย ด้านนอกมีขน
ฐานดอกรูปครึ่งวงกลม ดอกย่อยมีต่อมกระจาย ดอกเพศเมียอยู่วงนอก สีเหลือง
เรียง 2-6 วง กลีบดอกรูปเส้นด้ายยาวประมาณ 1 มม. จักตื้น ๆ ดอกกลาง
สมบูรณ์เพศ รูประฆังแคบ ยาวประมาณ 1.5 มม. ปลายแฉกตื้น ๆ รูปไข่ 4-5 แฉก
เกสรเพศผู้ 4-5 อัน ปลายอับเรณูมีรยางค์ ก้านเกสรเพศเมียแยกแขนงหรือไม่แยก
ผลแห้งแบน มีต่อมกระจาย มี 2 สัน ปลายตัดมีวงหนาเป็นจัก ไม่มีแพปพัส
พบในแอฟริกาและเอเชียเขตร้อน ขึ้นเป็นวัชพืช ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร
พญาปล้องทอง: ช่อดอกแบบช่อกระจุกสั้น ๆ สีแดง ปลายมีริ้วสีเหลืองอมเขียวด้านใน กลีบรูปปากเปิดคล้ายพลิกกลับ ใบมีสรรพคุณเจริญอาหาร แก้ไอ ให้ประจ�าเดือนเป็นปกติ
กลีบล่างปลายแยก 3 แฉก กลีบบน 2 กลีบ รูปสามเหลี่ยมแคบ (ภาพ: cultivated - RP)
สกุล Grangea Adans. อยู่ภายใต้เผ่า Astereae มี 9 ชนิด พบในแอฟริกาและ
พญามะขามป้อม เอเชียเขตร้อน ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลอาจมาจากชื่อบุคคล Grange
Dacrycarpus imbricatus (Blume) de Laub.
วงศ์ Podocarpaceae เอกสารอ้างอิง
Chen, Y. and L. Brouillet. (2011). Asteraceae. In Flora of China Vol. 20-21: 552.
ชื่อพ้อง Podocarpus imbricatus Blume, Dacrycarpus imbricatus (Blume) de
Laub. var. patulus de Laub.
ไม้ต้น สูงได้ถึง 40 ม. แยกเพศต่างต้น ใบรูปแถบ ใบบนกิ่งเรียงห่าง ใบช่วง
ปลายกิ่งเรียงในระนาบเดียว กว้างตรงกลาง ยาว 0.8-1.5 ซม. ใบบนก้านช่อรูปเข็ม
เรียงไม่แนบติดกับก้าน โคนเพศผู้ออกตามซอกใบ ยาวประมาณ 1 ซม. กาบคล้าย
เกล็ด (microsporophylls) ยาว 2-4 มม. เรียงซ้อนกัน โคนเพศเมียออกเดี่ยว ๆ
ที่ปลายกิ่ง มีกาบประดับ (megasporophylls) อวบน�้ารองรับเมล็ดเปลือย ยาว
3-4 มม. เมล็ดรูปรี ยาว 5-6 มม. เยื่อหุ้มสุกสีแดง พญามุตติ: ใบรูปพิณ จักเป็นพู 2-5 คู่ ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่นรูปจาน ใบประดับขอบจักชายครุย ด้านนอกมีขน
(ภาพ: ร้อยเอ็ด - PK)
พบที่จีนตอนใต้ ไห่หนาน พม่า ภูมิภาคอินโดจีน ภูมิภาคมาเลเซีย ฟิลิปปินส์
นิวกินี และฟิจิ ในไทยพบทางภาคเหนือที่พิษณุโลก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ พญาไม้
เลย เพชรบูรณ์ ภาคตะวันออกที่นครราชสีมา ภาคตะวันออกเฉียงใต้ที่ตราด และ Podocarpus neriifolius D. Don
ภาคใต้ที่ยะลา ขึ้นตามป่าดิบเขา ความสูง 700-1500 เมตร วงศ์ Podocarpaceae
สกุล Dacrycarpus (Endl.) de Laub. พืชเมล็ดเปลือย มี 9 ชนิด พบในเอเชีย ไม้ต้น สูง 25-30 ม. เปลือกบางลอกออกเป็นแผ่น ใบเรียงเวียน รูปใบหอก
และฟิจิ ในไทยมีชนิดเดียว แยกเป็น var. robustus de Laub. พบที่บอร์เนียว หรือรูปแถบ หนา โค้งเล็กน้อย ยาว 7-20 ซม. ปลายแหลม โคนใบรูปลิ่ม เรียวจรด
ฟิลิปปินส์ โมลุกกะ และนิวกินี และ var. curvulus (Miq.) de Laub. พบที่ ก้านที่สั้น เส้นกลางใบนูนทั้งสองด้าน โคนเพศผู้ออกเป็นกลุ่ม 2-3 ช่อ ตามซอกใบ
สุมาตราตอนบนและชวาตอนกลาง ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “dakryon” น้ำาตา ยาว 2.5-5 ซม. ไร้ก้าน กลีบประดับจ�านวนมากเรียงเวียน เมล็ดเปลือยอยู่บนฐาน
และ “carpos” ผล หมายถึงเมล็ดเปลือยรูปรีคล้ายหยดน้ำาตา อวบน�้าที่พัฒนามาจากเกล็ดของออวุล ออกเดี่ยว ๆ ก้านยาว 1-2 ซม. ฐานรอง
อวบหนา ยาวเท่า ๆ ก้าน ที่โคนมีใบประดับ 2 ใบ รูปลิ่มแคบ เมล็ดมีเยื่อหุ้ม
เอกสารอ้างอิง คล้ายผลผนังชั้นในแข็ง ยาว 1-1.5 ซม. สุกสีม่วงแดง
de Laubenfels, D.J. (1988). Coniferales. In Flora Malesiana Vol. 10: 360-371.
Fu, L., Y. Li and R.R. Mill. (1999). Podocarpaceae. In Flora of China Vol. 4: 79. พบที่อินเดีย เนปาล บังกลาเทศ จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย
Phengklai, C. (1972). Podocarpaceae (Podocarpus). In Flora of Thailand Vol. นิวกินี ฟิลิปปินส์ และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทุกภาค ขึ้นตาม
2(2): 201. ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา ความสูง 600-1500 เมตร
290
58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd 290 3/1/16 5:59 PM