Page 314 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 314

พลองขี้ควาย
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                                                                     4 อันอยู่วงใน อับเรณูรูปตัวเอส ยำว 5-7.5 มม. มีช่องเปิดช่องเดียว โคนอับเรณู
                                                                     จัก 2-3 พู เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 4 อันอยู่วงนอก ยำว 1.5-4.5 มม. ปลายมีรยางค์
                                                                     รูปเส้นด้าย รังไข่แนบติดถุงเกสรเพศผู้ ผลสดมีหลำยเมล็ด รูปรี ยำวประมำณ 8 มม.
                                                                     สุกสีม่วงด�ำ เมล็ดจ�ำนวนมำกขนำดเล็ก
                                                                       พบที่พม่ำ ลำว เวียดนำม คำบสมุทรมลำยู สุมำตรำ และชวำ ในไทยพบแทบ
                                                                     ทุกภำค ยกเว้นภำคเหนือตอนบน ขึ้นตำมชำยป่ำดิบแล้งและป่ำดิบชื้น ริมล�ำธำร
                                                                     ควำมสูงถึงประมำณ 1000 เมตร
                                                                       สกุล Dissochaeta Blume มีประมาณ 40 ชนิด พบที่อินเดีย พม่า ภูมิภาคอินโดจีน
                  พลวง: แผ่นใบเกลี้ยง ช่อดอกแยกแขนงเดียว ติดด้ำนเดียว กลีบดอกบิดเวียน หลอดกลีบเลี้ยงมีสันคล้ำยปีกครึ่งบน   และมาเลเซีย นิวกินี และฟิลิปปินส์ ในไทยมี 12 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก
                กลีบเลี้ยงขยำยเป็นปีกยำว 2 ปีก (ภำพ: แม่สะเรียง แม่ฮ่องสอน - RP)
                                                                       “distiss” 2 แบบ และ “chaite” ขนแข็ง หมายถึงมีขนแข็ง 2 แบบ หรืออาจหมายถึง
                พลองขี้ควาย                                            ลักษณะอับเรณูที่มี 2 แบบ
                Memecylon caeruleum Jack                              เอกสารอ้างอิง
                วงศ์ Melastomataceae                                   Renner, S.S., G. Clausing, N. Celliness and K. Meyer. (2001). Melastomataceae.
                                                                          In Flora of Thailand Vol. 7(3): 423-425.
                   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูง 3-12 ม. ใบเรียงตรงข้าม รูปรีหรือรูปขอบขนำน ยำว
                8-16 ซม. ปลำยแหลมหรือมน โคนรูปลิ่ม มน หรือกลม แผ่นใบค่อนข้างหนา
                ก้ำนใบยำวได้ถึง 1 ซม. ช่อดอกออกเป็นกระจุกสั้น ๆ ตามซอกใบ ก้ำนช่อยำว
                0.5-1.2 ซม. ใบประดับขนำดเล็ก ร่วงเร็ว ก้ำนดอกยำว 2-5 มม. ฐานดอกรูปถ้วย
                ยำว 1.5-3 มม. กลีบเลี้ยงจักตื้น ๆ 4 กลีบ ดอกสีม่วง มี 4 กลีบ รูปไข่กว้ำง
                ปลำยแหลม ยำวประมำณ 2 มม. เกสรเพศผู้ 8 อัน สีม่วง ยำวประมำณ 2.5 มม.
                อับเรณูปลายมีรยางค์ มีต่อมที่โคน รังไข่ใต้วงกลีบ มีร่องตำมยำว 8 ร่อง ออวุลมี
                หลำยเม็ด พลำเซนตำรอบแกน ยอดเกสรเพศเมียเป็นตุ่ม ผลคล้ายผลสด มีเมล็ด
                เดียวที่เจริญ รูปไข่กว้ำง เส้นผ่ำนศูนย์กลำง 1-1.5 ซม. ผิวเรียบ ปลายผลมีจาน
                ฐานดอกติดทนรูปวงแหวน สุกสีม่วงด�ำ เมล็ดกลม เปลือกแข็ง
                   พบที่จีนตอนใต้ ภูมิภำคอินโดจีนและมำเลเซีย ในไทยพบกระจำยห่ำง ๆ ทุกภำค
                พบมำกทำงภำคใต้ ควำมสูงถึงประมำณ 1200 เมตร มีสรรพคุณเย็น เป็นยำสมำน

                   สกุล Memecylon L. เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Memecylaceae ปัจจุบันอยู่วงศ์ย่อย
                   Olisbeoideae มีประมาณ 400 ชนิด พบในแอฟริกา มาดากัสการ์ เอเชีย และ  พลองอินทร์: ใบเรียงตรงข้ำม ขอบก้ำนใบมักมีขนแข็ง ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ฐำนดอกปลำยเป็นขอบตัด
                   ออสเตรเลีย ในไทยมีประมาณ 35 ชนิด (Wijedasa, pers. com.) ชื่อสกุลมาจาก  กลีบดอก 4 กลีบ ผลสุกสีม่วงด�ำ (ภำพดอก: แก่งกระจำน เพชรบุรี - PK; ภำพผล: น�้ำตกโยง นครศรีธรรมรำช - SSi)
                   ภาษากรีกโบราณ “memekylon” หมายถึงพืชพวกสตรอว์เบอร์รีต้นที่ผลกินได้  พลับพลา, สกุล
                  เอกสารอ้างอิง                                      Microcos L.
                   Chen, J. and S.S. Renner. (2007). Melastomataceae. In Flora of China Vol.   วงศ์ Malvaceae
                      13: 397.
                                                                       ไม้พุ่มหรือไม้ต้น หูใบขนำดเล็ก ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียนหรือเรียงสลับระนำบเดียว
                                                                     เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงตำมซอกใบหรือปลำยกิ่ง
                                                                     ดอกสมบูรณ์เพศ ใบประดับเชื่อมติดกัน ส่วนมำกร่วงเร็ว กลีบเลี้ยง 5 กลีบ แยก
                                                                     จรดโคน เรียงจรดกันในตำดอก กลีบดอก 5 กลีบ ขนาดเล็กกว่ากลีบเลี้ยงหรือไม่มี
                                                                     มีต่อมที่โคน เกสรเพศผู้จ�านวนมาก แยกกัน ติดบนส่วนปลายก้านชูเกสรร่วม
                                                                     รังไข่เหนือวงกลีบ ไร้ก้ำน ส่วนมำกมี 3 ช่อง ก้ำนเกสรเพศเมียเรียวยำวรูปลิ่มแคบ
                                                                     ผลผนังชั้นในแข็ง ส่วนมำกมี 1-3 ไพรีนที่เจริญ

                                                                       สกุล Microcos เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Tiliaceae ปัจจุบันอยู่วงศ์ย่อย Grewioideae
                                                                       มีประมาณ 80 ชนิด ส่วนใหญ่พบในแอฟริกา ในไทยมีประมาณ 5 ชนิด ชื่อสกุล
                  พลองขี้ควาย: ช่อดอกออกเป็นกระจุกสั้นๆ ตำมซอกใบ กลีบเลี้ยงจักตื้น ๆ 4 กลีบ เกสรเพศผู้ 8 อัน สีม่วง ผลผิวเรียบ   มาจากภาษากรีก “mikros” ขนาดเล็ก และ “kos” ที่คุมขัง หมายถึงใบที่ใช้ห่อ
                สุกสีม่วงด�ำ ปลำยผลมีจำนฐำนดอกติดทนรูปวงแหวน (ภำพ: เขำหลัก พังงำ; ภำพดอก - NP, ภำพผล - RP)  อาหารที่มีขนาดเล็ก
                พลองอินทร์                                           พลับพลา
                Dissochaeta divaricata (Willd.) G. Don               Microcos tomentosa Sm.
                วงศ์ Melastomataceae
                                                                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. มีขนกระจุกรูปดาวสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน ก้านใบ แผ่นใบ
                  ชื่อพ้อง Melastoma divaricatum Willd.              ช่อดอก ใบประดับ กลีบเลี้ยง และผล ใบรูปไข่กลับหรือแกมรูปขอบขนำน ยำว
                   ไม้พุ่มกึ่งเลื้อย มีขนกระจุกแข็งคล้ายหนามตามข้อ ข้อเป็นสันนูน ใบเรียง  8-22 ซม. ปลำยแหลม โคนมนหรือกลม ขอบจักฟันเลื่อย เส้นแขนงใบข้ำงละ
                ตรงข้าม รูปไข่ รูปขอบขนำน หรือรูปใบหอก ยำว 6.5-17 ซม. ปลำยแหลมหรือ  4-6 เส้น เส้นแขนงใบย่อยที่สำมแบบขั้นบันได ก้ำนใบยำว 0.5-2.5 ซม. ช่อดอก
                แหลมยำว โคนมนกลม แผ่นใบหนำ ด้ำนล่ำงมีขนละเอียดและขนกระจุกแซม   ยำว 3-15 ซม. ใบประดับรูปใบหอก ยำวประมำณ 5 มม. กลีบเลี้ยงรูปใบพำย
                เส้นโคนใบข้างละ 1-2 เส้น เรียวจรดปลายใบ ก้ำนใบยำว 0.5-2 ซม. ขอบมักมี  ยำว 5-8 มม. กลีบดอกรูปไข่ ยำว 2-3 มม. ร่วงเร็ว ก้ำนชูอับเรณูยำวประมำณ 5 มม.
                ขนแข็ง ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ช่อที่ปลำยกิ่งยำวได้ถึง 30 ซม. ก้ำนดอก  รังไข่มีขน ผลรูปรีกว้ำง ยำว 1-1.5 ซม. เปลือกหนำ
                หนำ ยำว 5-6 มม. ใบประดับคล้ำยใบ รูปขอบขนำนหรือรูปใบหอก ยำว 0.4-1.4 ซม.   พบที่อินเดีย พม่ำ ภูมิภำคอินโดจีน คำบสมุทรมลำยู บอร์เนียว สุมำตรำ ชวำ
                ร่วงเร็ว ฐำนดอกรูปถ้วย ยำว 4-6 มม. ปลายเป็นขอบตัดหนา สูงประมำณ 1 มม.   และฟิลิปปินส์ ในไทยพบทุกภำค คล้ำยกับ ลำย M. paniculata L. ที่ใบเกลี้ยง
                กลีบดอก 4 กลีบ รูปขอบขนำนหรือแกมรูปไข่กลับ ยำว 0.7-1 ซม. เกสรเพศผู้   หรือมีขนตำมเส้นแขนงใบด้ำนล่ำง ขอบใบส่วนมำกเรียบ และรังไข่เกลี้ยง


                294






        59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd   294                                                                 3/1/16   6:03 PM
   309   310   311   312   313   314   315   316   317   318   319