Page 315 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 315
พลับพลาส้ม สารานุกรมพืชในประเทศไทย พวงแก้วกุดั่น
Microcos laurifolia (Hook. f. ex Mast.) Burret
ชื่อพ้อง Grewia laurifolia Hook. f. ex Mast.
ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. ใบรูปขอบขนำน ยำว 15-20 ซม. ปลำยแหลมหรือแหลมยำว
โคนมน ขอบเรียบหรือช่วงปลายจักฟันเลื่อยเล็กน้อย เส้นโคนเรียงจรดปลายใบ
เส้นแขนงใบย่อยไม่ชัดเจนหรือมีเฉพำะช่วงปลำยใบ เส้นแขนงใบย่อยชั้นที่สำม
แบบขั้นบันได ก้ำนใบยำว 1-1.5 ซม. ช่อดอกยำว 6-10 ซม. ใบประดับขนำดเล็ก
ก้ำนดอกสั้น กลีบเลี้ยงรูปใบพำย ยำว 4-5 มม. กลีบดอกรูปไข่แกมสำมเหลี่ยม
ยำวประมำณ 2 มม. ร่วงเร็ว ก้ำนชูอับเรณูยำว 2-2.5 มม. รังไข่เกลี้ยง ผลรูปรีหรือ
รูปลูกแพร์ ยำวประมำณ 1.5 ซม. เปลือกหนำ สุกสีเหลือง ก้ำนเทียมยำว 5-8 มม.
พบที่คำบสมุทรมลำยู สุมำตรำ บอร์เนียว และภำคใต้ของไทย ขึ้นตำมป่ำดิบชื้น
ควำมสูงถึงประมำณ 300 เมตร
พลับพลึงธาร: ถิ่นที่อยู่ในล�ำธำร ใบรูปแถบ ช่อดอกแบบช่อซี่ร่ม กลีบรวมแยก 6 แฉก รูปแถบ เกสรเพศผู้ 6 อัน
เอกสารอ้างอิง (ภำพ: คลองนำคำ ระนอง; ภำพซ้ำยบนและภำพขวำ - NP, ภำพซ้ำยล่ำง - OK)
Chung, R.C.K. and E. Soepadmo. (2011). Taxonomic revision of the genus
Microcos (Malvaceae-Grewioideae) in peninsular Malaysia and Singapore. พวงแก้วกุดั่น, สกุล
Blumea 56: 295-297.
Phengklai, C. (1993). Tiliaceae. In Flora of Thailand Vol. 6(1): 34. Clematis L.
วงศ์ Ranunculaceae
ไม้เถำ พบน้อยที่เป็นไม้พุ่มหรือไม้ล้มลุก ใบเดี่ยวหรือใบประกอบ ส่วนมำก
เรียงตรงข้ำม ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ดอกสมบูรณ์เพศหรือมีเพศเดียว
กลีบเลี้ยง 4-6 หรือ 8 กลีบ เรียงจรดกันในตาดอก ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้
จ�ำนวนมำก อับเรณูหันเข้ำ คำร์เพลจ�ำนวนมำก ส่วนมำกมีขน แต่ละคาร์เพลมี
ออวุลเม็ดเดียว ห้อยลง เกสรเพศเมียขยายยาวในผลคล้ายหาง มีขนยาวนุ่ม
ผลแห้งเมล็ดล่อน แบนด้ำนข้ำง
สกุล Clematis มีประมาณ 300 ชนิด พบแทบทุกทวีป โดยเฉพาะเอเชียตะวันออก
ในไทยมี 10 ชนิด และอาจพบไม้ประดับอีก 1-2 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก
“klematis” ที่ใช้เรียกพืชเถาหลายชนิดที่มีดอกสีม่วง
พวงแก้วกุดั่น
Clematis smilacifolia Wall.
พลับพลา: มีขนกระจำยตำมแผ่นใบ ช่อดอก ผล ขอบใบจักฟันเลื่อย (ภำพซ้ำย: สุรำษฎร์ธำนี - RP); พลับพลาส้ม:
ขอบใบเรียบหรือจักฟันเลื่อยเล็กน้อยช่วงปลำยใบ ผลรูปลูกแพร์ สุกสีเหลือง (ภำพขวำ: เขำหลวง นครศรีธรรมรำช - AS) ไม้เถำ ใบรูปไข่ หรือแกมรูปขอบขนำนถึงรูปใบหอก ยำว 6-21 ซม. โคนเว้าตื้น
หรือคล้ายรูปก้นปิด เส้นโคนใบข้างละ 2-3 เส้น ก้ำนใบยำว 3.5-12 ซม. ก้ำนช่อดอก
พลับพลึงธาร ยำวได้ถึง 10 ซม. ใบประดับรูปแถบ ยำว 0.7-1 ซม. มี 10-27 ดอก ก้ำนดอกยำว
Crinum thaianum J. Schulze 4-10 ซม. ใบประดับย่อย 2 อัน รูปแถบ ยำวประมำณ 3 มม. กลีบเลี้ยงมี 4-6 กลีบ
วงศ์ Amaryllidaceae ด้านนอกสีน�้าตาล มีขนละเอียด ด้านในสีม่วงอมน�้าเงิน รูปขอบขนำนหรือรูปใบหอก
ไม้ล้มลุกน�้า รากลึก มีหัวใต้ดิน เส้นผ่ำนศูนย์กลำงประมำณ 7 ซม. ยำวประมำณ ยำว 1.5-2 ซม. พับงอกลับ เกสรเพศผู้ยำว 0.8-1.6 ซม. ด้านนอกมักเป็นหมัน
รูปแถบ อับเรณูยำว 2-5 มม. ปลำยมีรยำงค์สั้น ๆ ก้ำนเกสรเพศเมียยำวประมำณ
15 ซม. ใบออกเป็นวงรอบแทงขึ้นเหนือน�้า รูปแถบ ยำว 2-3 ม. เนื้อใบเหนียวนุ่ม 6 มม. ขยายในผลคล้ายหาง ยาว 4-8 ซม. มีขนยาวนุ่มหนาแน่น ผลรูปรี เบี้ยว
มีเส้นใบตามยาวจ�านวนมาก ขอบใบจักซี่ฟันเล็ก ๆ ช่อดอกแบบช่อซี่ร่ม กาบ ยำว 0.6-1.2 ซม.
หุ้มช่อสีแดง ก้ำนช่อดอกอวบหนำ ยำว 80-100 ซม. สีเขียวแกมม่วง มี 5-8 ดอก
ดอกสีขำว กลีบรวมเชื่อมติดกันเป็นหลอดยำว 12-14 ซม. ปลำยแยกเป็น 6 แฉก พบที่บังกลำเทศ เนปำล ภูฏำน อินเดีย พม่ำ จีน กัมพูชำ เวียดนำม ภูมิภำคมำเลเซีย
รูปแถบหรือรูปใบหอก ยำว 8-10 ซม. เกสรเพศผู้ 6 อัน ก้ำนชูอับเรณูเรียวยำวและ ฟิลิปปินส์ และนิวกินี ในไทยพบแทบทุกภำค ยกเว้นภำคตะวันออกเฉียงใต้ และ
แผ่กว้ำง สีขำวหรือแดง ยำว 6-8 ซม. อับเรณูติดที่ฐำน สีเหลืองอ่อน ยำว 1.2-1.5 ซม. ภำคใต้ ขึ้นตำมชำยป่ำที่แห้งแล้ง ควำมสูง 300-1800 เมตร
รังไข่มี 3 ช่อง ก้ำนเกสรเพสเมียสั้นกว่ำก้ำนชูอับเรณู ยอดเกสรเป็นตุ่ม ผลสดมี เอกสารอ้างอิง
หลำยเมล็ด เมล็ดบิดเบี้ยวเป็นเหลี่ยม ยำวประมำณ 2.5 ซม. Tamura, M. (2011). Ranunculaceae. In Flora of Thailand Vol. 11(1): 49-60.
Wang, W. and B. Bartholomew. (2001). Ranunculaceae. In Flora of China Vol.
พืชถิ่นเดียวของไทย พบทำงภำคใต้ที่คลองนำคำ และอ�ำเภอกะเปอร์ จังหวัด 6: 333, 368.
ระนอง และอ�ำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงำ ขึ้นในล�ำธำรที่มีน�้ำไหลตลอดปี ควำมลึก
ไม่เกิน 2 เมตร ชื่อเรียกเป็นภำษำท้องถิ่นว่ำ หัวหญ้ำช้อง เป็น 1 ใน 4 ชนิดของสกุล
ที่เป็นพืชน�้ำ อีก 3 ชนิด คือ C. aquaticum Burch. ex Spreng., C. natans
Baker พบในแอฟริกำ และ C. purpurascens Herb. พบในอเมริกำใต้
สกุล Crinum L. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Amaryllidoideae มีประมาณ 65 ชนิด พบใน
เขตร้อนและกึ่งเขตร้อน โดยเฉพาะในแอฟริกา ในไทยมี 5-6 ชนิด และพบเป็น
ไม้ประดับอีกหลายชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “krinon” หมายถึงพืชพวกลิลลี่
เอกสารอ้างอิง
Schulze, J. (1972). Crinum thaianum J. Schulze, a new aquatic species from พวงแก้วกุดั่น: โคนเว้ำตื้นหรือคล้ำยรูปก้นปิด เส้นโคนใบข้ำงละ 2-3 เส้น กลีบเลี้ยงด้ำนนอกสีน�้ำตำล มีขนละเอียด
southeast Asia. Plant Life 27: 33-42. ด้ำนในสีม่วงอมน�้ำเงิน พับงอกลับ ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ด้ำนนอกเป็นหมัน (ภำพ: สระบุรี - RP)
295
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 295 3/1/16 6:03 PM