Page 319 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 319
พะยูง
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
พวงหูด มีประมาณ 195 ชนิด พบที่ศรีลังกา อินเดีย พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและ
Pterisanthes cissioides Blume มาเลเซีย ในไทยมี 24 ชนิด ชื่อสกุลตั้งเป็นเกียรติแก่ขุนนางชาวอังกฤษ
Sir John Shore Teignmouth (1751-1834) อดีตนายทหารที่ทำางานให้กับบริษัท
วงศ์ Vitaceae อีสต์อินเดียที่เบงกอล
ไม้เถำล้มลุก มีมือจับ ใบประกอบมี 3-5 ใบย่อย ก้ำนใบยำว 3-10 ซม. ใบย่อย
รูปขอบขนำนหรือแกมรูปไข่กลับ ยำว 10-20 ซม. ปลำยแหลมยำว ขอบจักฟันเลื่อย พะยอม
ห่าง ๆ ใบย่อยด้านข้างโคนเบี้ยว ก้ำนใบย่อยใบปลำยยำวได้ถึง 3.5 ซม. ใบย่อย Shorea roxburghii G. Don
ด้ำนข้ำงยำว 1-1.5 ซม. ช่อดอกแผ่เป็นแผ่นบางคล้ายริบบิ้น มี 4 ด้าน ยำว 10-13 ซม.
กว้ำง 3-7 ซม. ก้ำนช่อยำว 20-25 ซม. มีขน ดอกบนแผ่นช่อดอกไร้ก้าน ดอกที่มีก้าน ไม้ต้น สูง 15-25 ม. โคนมีพูพอนตื้น ๆ เปลือกแตกเป็นร่อง มีขนสั้นนุ่มและ
ดอกยื่นออกมาจากแผ่นช่อดอก ซึ่งอำจมีรังไข่แต่ไม่พบเกสรเพศผู้ ก้ำนดอกยำว เกล็ดสีน�้าตาลตามกิ่งอ่อน หูใบ ก้านใบ แผ่นใบด้านล่าง และกลีบเลี้ยงด้านนอก
1.5-2.5 ซม. กลีบเลี้ยงไม่ชัดเจน กลีบดอกขนำดเล็กมำก มี 4-5 กลีบ รูปไข่แกม หูใบรูปแถบขนำดเล็ก ใบรูปขอบขนำน ยำว 5-15 ซม. เส้นแขนงใบข้ำงละ 14-20 เส้น
สำมเหลี่ยม เกสรเพศผู้เท่ำจ�ำนวนกลีบดอก ติดด้ำนในกลีบดอก รังไข่ยื่นเลยหลอด ก้ำนใบยำว 2-4 ซม. ช่อดอกยำว 3-8 ซม. ช่อแยกแขนงมี 2-4 ดอก ตาดอกเรียวยาว
กลีบดอกเล็กน้อย ก้ำนเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรไม่ชัดเจน ผลสด เส้นผ่ำนศูนย์กลำง ก้ำนดอกยำวประมำณ 2 มม. กลีบเลี้ยงรูปสำมเหลี่ยม ยำวประมำณ 5 มม. ดอกสีครีม
ประมำณ 8 มม. สุกสีแดงอมชมพู มี 1-2 เมล็ด โค้งงอ ผิวย่น โคนมีปื้นสีชมพู รูปขอบขนำนแกมรูปไข่ ยำวได้ถึง 1.2 ซม. เกสรเพศผู้ 15 อัน
ก้ำนชูอับเรณูสั้น อับเรณูเรียวยำวประมำณ 1 มม. รยางค์ยาวประมาณ 1.5 เท่าของ
พบที่คำบสมุทรมลำยู บอร์เนียว สุมำตรำ ชวำ และภำคใต้ของไทยที่พังงำ อับเรณู รังไข่เกลี้ยง ก้ำนเกสรเพศเมียยำว 3-4 มม. ยอดเกสรจัก 3 พู หลอดกลีบเลี้ยง
นรำธิวำส ขึ้นริมล�ำธำรในป่ำดิบชื้น ควำมสูง 50-100 เมตร หุ้มผล เกลี้ยง ปีกยำว 3 ปีก ยำว 5-10 ซม. ปีกสั้น 2 ปีก ยำว 3-6 ซม. ผลรูปไข่ ยำว
1.5-2 ซม. ติ่งแหลมยำว 3-5 มม.
สกุล Pterisanthes Blume อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Viticoideae มีประมาณ 20 ชนิด
พบที่พม่าตอนล่าง และภูมิภาคมาเลเซีย ในไทยมีรายงาน 3 ชนิด P. eriopoda พบที่อินเดีย พม่ำ ภูมิภำคอินโดจีน คำบสมุทรมลำยูตอนบน ในไทยพบทุกภำค
(Miq.) Planch. แผ่นใบด้านล่างมีขนคล้ายไหมหนาแน่น ไม่มีดอกที่มีก้านดอก ขึ้นตำมป่ำเต็งรัง ป่ำเบญจพรรณ ป่ำดิบแล้ง และป่ำดิบชื้นใกล้ชำยฝั่งทะเล ควำมสูงถึง
พบที่ระนอง สงขลา และนราธิวาส ส่วน P. polita (Miq.) M. A. Lawson ใบประกอบ ประมำณ 1500 เมตร
มีใบเดียว แผ่นช่อดอกแคบ เคยมีรายงานว่าพบทางภาคใต้ตอนล่าง
เอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิง Ashton, P.S. (1982). Dipterocarpaceae. In Flora Malesiana Vol. 9: 493.
Latiff, A. (1982). Studies in Malesian Vitaceae, I-IV. Federation Museums Pooma, R. and M. Newman. (2001). Checklist of Dipterocarpaceae in Thailand.
Journal 27: 46-93. Thai Forest Bulletin (Botany) 29: 156-177.
Trias-Blasi, A., K. Chayamarit and A. Teerawatananon. (2014). A taxonomic Smitinand, T., J.E. Vidal and P.H. Hô. (1990). Dipterocarpaceae. Flore du
revision of Pterisanthes (Vitaceae) in Thailand and a new Thai record for Cambodge, du Laos et du Vietnam. 25: 84-104.
Pterisanthes cissioides. Phytotaxa 159(2): 95-104.
พวงหูด: ใบประกอบมี 3-5 ใบย่อย ใบย่อยด้ำนข้ำงโคนเบี้ยว ช่อดอกแผ่เป็นแผ่นบำงคล้ำยริบบิ้น ดอกบนแผ่นไร้ก้ำน พะยอม: ใบรูปขอบขนำน ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง กลีบดอกบิดเวียน ผลมีปีกยำว 3 ปีก ปีกสั้น 2 ปีก
ดอกที่มีก้ำนดอกยื่นออกมำจำกแผ่นช่อดอก ผลสด สุกสีแดงอมชมพู (ภำพ: สระนำงมโนรำห์ พังงำ - RP) (ภำพดอก: กำญจนบุรี - PT; ภำพผล: เชียงดำว เชียงใหม่ - RP)
พะยอม, สกุล พะยูง, สกุล
Shorea Roxb. ex C. F. Gaertn. Dalbergia L. f.
วงศ์ Dipterocarpaceae วงศ์ Fabaceae
ไม้ต้น มีหูใบ ใบเรียงเวียน บำงครั้งมีตุ่มใบ เส้นใบย่อยแบบขั้นบันได ช่อดอก ไม้ต้น ไม้พุ่ม หรือไม้เถำเนื้อแข็ง หูใบขนำดเล็กร่วงเร็ว ใบประกอบปลายคี่
แบบช่อกระจุกแยกแขนง ดอกเรียงเวียนข้างเดียวกัน ใบประดับร่วงเร็ว กลีบเลี้ยง เรียงเวียน ใบย่อยเรียงสลับระนาบเดียว ช่อดอกแบบช่อกระจะหรือแยกแขนง
5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม 3 กลีบในเรียวแคบและยำวกว่ำคู่นอกเล็กน้อย กลีบดอก ใบประดับขนำดเล็ก ร่วงเร็ว กลีบเลี้ยงรูปถ้วย มี 5 กลีบ กลีบดอกรูปดอกถั่ว กลีบปีก
5 กลีบ บิดเวียน แยกกันหรือเชื่อมติดกันที่โคน เกสรเพศผู้มี 10 หรือ 15 อัน หรือ แยกกัน เกสรเพศผู้เชื่อมติดกลุ่มเดียวหรือสองกลุ่ม อับเรณูติดที่ฐำน เปิดที่ปลำย
จ�านวนมาก เรียง 2-3 วง โคนก้ำนชูอับเรณูแผ่กว้ำง อับเรณูส่วนมำกมี 4 ช่อง รังไข่มีก้าน ก้ำนเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรขนำดเล็ก ผลเป็นฝักแห้งไม่แตก มี
รูปกลม ๆ คู่ในขนาดเล็กกว่า ปลายแกนอับเรณูเป็นรยางค์ รังไข่มักคอดเว้ำ ไร้ฐาน หนึ่งหรือหลำยเมล็ด เมล็ดรูปคล้ำยไต
ยอดเกสรเพศเมีย (stylopodium) ยอดเกสรเพศเมียขนำดเล็ก เรียบหรือจัก 3 พู
ผลเปลือกแข็งเมล็ดเดียว ปลำยมีติ่งแหลม กลีบเลี้ยงส่วนมากขยายเป็นปีกยาว สกุล Dalbergia อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Faboideae เผ่า Dalbergieae มีมากกว่า
3 ปีก ปีกสั้น 2 ปีก โคนหนา เรียงซ้อนเหลื่อม 100 ชนิด พบในอเมริกาเขตร้อน แอฟริกา และเอเชีย ในไทยมีประมาณ 26 ชนิด
และมีที่นำาเข้ามาปลูกเป็นไม้ประดับหรือไม้เศรษฐกิจ 1 ชนิด คือ ประดู่แขก
สกุล Shorea อยู่ภายใต้เผ่า Shoreae ที่โคนกลีบเลี้ยงในผลเรียงซ้อนเหลื่อม หรือประดู่ลาย D. sisso Roxb. DC. มีถิ่นกำาเนิดในอินเดีย ชื่อสกุลตั้งตาม
แยกเป็นกลุ่มย่อยหลายกลุ่มตามลักษณะเปลือก เนื้อไม้ สิ่งปกคลุม ปลายแกน นักพฤกษศาสตร์ชาวสวีเดน Carl Gustav Dahlberg (1753-1775) และพี่ชาย
อับเรณู จำานวนเกสรเพศผู้ รูปร่างและจำานวนอับเรณู และฐานก้านเกสรเพศเมีย Nils E. Dahlberg (1730-1820)
299
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 299 3/1/16 6:04 PM