Page 324 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 324

พิศวง  พิศวง        สารานุกรมพืชในประเทศไทย            พบที่ศรีลังกำ และภำคใต้ของไทยที่ระนอง และพังงำ ขึ้นใต้ร่มเงำในป่ำดิบชื้น
                Paradombeya burmanica Stapf                          ควำมสูงระดับต�่ำ ๆ
                วงศ์ Malvaceae                                       พิศวงขาว
                   ไม้พุ่ม อำจสูงได้ถึง 5 ม. หูใบรูปเส้นด้าย ยำวได้ถึง 7 มม. ร่วงเร็ว ใบเรียงสลับ  Thismia alba Holttum ex Jonker
                ระนาบเดียว รูปใบหอก ยำว 6-14 ซม. ปลำยแหลมยำว โคนมน กลม เบี้ยว ขอบจัก
                ซี่ฟัน เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น ก้านใบพอง ยำว 4-5 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจุก   พืชล้มลุกกินซำก ล�ำต้นสั้น บำงครั้งแตกแขนง ใบรูปใบหอก ยำว 3-4 มม บำงใส
                ออกสั้น ๆ ตำมซอกใบ มี 3-7 ดอก ก้ำนดอกยำวประมำณ 5 มม. ริ้วประดับมี   มี 1-3 ดอก ใบประดับ 3 อัน หลอดกลีบรูประฆังสีขาว ยำวประมำณ 1 ซม. มีริ้ว
                2-3 อัน ติดที่ข้อเหนือจุดกึ่งกลางก้านดอก ยำวประมำณ 2 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ   6 ริ้ว ระหว่างริ้วเป็นเส้นแถบเหลือง กลีบรวมสีเหลือง รูปสำมเหลี่ยม ยำว 3-4 มม.
                รูปรี ยำวประมำณ 5 มม. ดอกสีขำว มี 5 กลีบ ติดระหว่างกลีบเลี้ยง รูปสำมเหลี่ยม   ทั้ง 6 กลีบมีรยางค์สีขาวรูปเส้นด้าย ยำวได้ถึง 1.5 ซม. วงสันนูนหนาสีเหลือง
                ยำว 0.5-1 ซม. โคนเรียวแคบ ปลายตัดไม่เป็นระเบียบ เกสรเพศผู้ 15 อัน กลุ่มละ   ก้ำนชูอับเรณูหนำ ปลำยมีรยำงค์ แกนอับเรณูแผ่กว้ำงคล้ำยปีกรูปสี่เหลี่ยม ที่โคน
                3 อัน สั้นกว่ำเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน ก้ำนชูอับเรณูเชื่อมติดกันที่โคน เกสรเพศผู้ที่  มีต่อมน�้ำต้อย 2 ต่อม ผลสดรูปถ้วยสีน�้ำตำล ยำวประมำณ 6 มม.
                เป็นหมันรูปลิ้น ติดระหว่ำงกลุ่มเกสรเพศผู้ สั้นกว่ำหรือยำวเท่ำๆ กลีบดอก รังไข่มีขน   พบที่คำบสมุทรมลำยู และภำคใต้ของไทยที่สงขลำ พังงำ ขึ้นกระจำยห่ำง ๆ
                ก้ำนเกสรเพศเมียยำวเท่ำ ๆ เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน ยอดเกสรจัก 5 พู ผลแห้งแตก  ในป่ำดิบชื้น ควำมสูงถึงประมำณ 300 เมตร
                รูปไข่ มี 5 ซีก แต่ละซีกมีเมล็ดเดียว
                   พบที่พม่ำ และภำคเหนือของไทยที่ดอยเชียงดำว ดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่   พิศวงรยางค์
                ขึ้นตำมชำยป่ำดิบเขำ ที่โล่งบนเขำหินปูน ควำมสูง 1000-2300 เมตร  Thismia javanica J. J. Sm.

                   สกุล Paradombeya Stapf เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Bombacaceae ปัจจุบันอยู่วงศ์ย่อย   พืชล้มลุกกินซำก สูงได้ถึง 12 ซม. ใบรูปรีถึงรูปใบหอก มี 1-3 ดอก ใบประดับ
                   Dombeyoideae มี 2 ชนิด อีกชนิด คือ P. sinensis Dunn พืชถิ่นเดียวของจีน   คล้ำยใบมี 3 อัน หลอดกลีบรูปคนโท สีขาว มีริ้วสีส้ม ด้ำนในเป็นแถบยำวเชื่อมกับ
                   ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “para” คล้าย และชื่อสกุล Dombeya   แนวขวำงหลำยแนว กลีบวงนอกขนำดเล็ก ปลำยมน กลีบวงในมีรยางค์รูปเส้นด้าย
                                                                     สีขาวอมน�้าตาล ยำว 2-3 ซม. ปลำยเกสรเพศผู้จัก 3 พู ปลายมีขน แกนอับเรณู
                  เอกสารอ้างอิง                                      แบนกว้ำงรูปสี่เหลี่ยม ผลสดรูปถ้วยสีส้มอมน�้ำตำล ยำวประมำณ 6 มม.
                   Phengklai, C. (2005). Bombacaceae. In Flora of Thailand Vol. 9(1): 31-32.
                   Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Sterculiaceae. In Flora of China.   พบในภูมิภำคมำเลเซีย ในไทยพบกระจำยห่ำง ๆ ทำงภำคใต้ ขึ้นใต้ร่มเงำใน
                      Vol. 12: 330.                                  ป่ำดิบชื้น ควำมสูงถึงประมำณ 1000 เมตร อนึ่ง ข้อมูลและภำพประกอบในหนังสือ
                                                                     พรรณพฤกษชำติของประเทศไทยน่ำจะเป็น พิศวง T. gardneriana Hook. f.
                                                                     ex Thwaites
                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Chantanaorrapint, S. and K. Sridith. (2007) Thismia alba (Thismiaceae), a new
                                                                          record for Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 35: 34-37.
                                                                       Cramer, L.H. (1983). Burmanniaceae. In A revised handbook to the Flora of
                                                                          Ceylon Vol. 4: 158-159.
                                                                       Jonker, F.P. (1984). Burmanniaceae. In Flora Malesiana Vol. 4: 21-25.
                  พิศวง: ช่อดอกแบบช่อกระจุก ออกสั้น ๆ ตำมซอกใบ กลีบดอกโคนเรียวแคบ ปลำยตัดไม่เป็นระเบียบ เกสรเพศผู้  Larsen, K. (1987). Thismiaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(1): 124-126.
                ที่เป็นหมันรูปลิ้น (ภำพ: ดอยเชียงดำว เชียงใหม่ - PK)
                พิศวง, สกุล
                Thismia Griff.
                วงศ์ Thismiaceae
                   พืชล้มลุกกินซากอาศัยเชื้อรา (myco-heterotrophic plants) ใบคล้ายเกล็ด
                ใบประดับคล้ำยใบ ติดใต้ดอก ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นช่อกระจะ กลีบรวม 6 กลีบ
                เรียง 2 วง ขนำดเท่ำ ๆ กัน หรือ 3 กลีบวงในใหญ่กว่ำเล็กน้อย เชื่อมติดกันคล้ายหมวก
                มีรูเปิด 3 ด้าน ปลายกลีบมักมีรยางค์ เกสรเพศผู้ 6 อัน เรียงติดกันเป็นหลอด
                ติดห้อยลงจากวงสันนูน (annulus) ก้านชูอับเรณูสั้นคล้ายริบบิ้น อับเรณูมี 2 ช่อง
                                                                      พิศวง: หลอดกลีบรูปถ้วย สีเข้ม กลีบสีเหลืองอมส้ม กลีบวงนอกรูปรีเกือบกลม กลีบวงในเรียวแคบเป็นรยำงค์รูป
                แยกกันด้วยแกนอับเรณู ปลายและโคนมักมีรยางค์ รังไข่ใต้วงกลีบ มีช่องเดียว   เส้นด้ำย (ภำพซ้ำย: ระนอง - RP; ภำพขวำ: พังงำ - NT)
                ออวุลจ�ำนวนมำก เกสรเพศเมียยำวเท่ำ ๆ หลอดกลีบรวม ก้ำนสั้น ยอดเกสรแยก
                3 แฉก ติดทน ผลสดรูปถ้วย แตกตามขวางที่ปลาย เมล็ดขนำดเล็กจ�ำนวนมำก

                   สกุล Thismia เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Burmanniaceae ภายใต้วงศ์ย่อย Thismioideae
                   มีมากกว่า 50 ชนิด พบในอเมริกาและแอฟริกาเขตร้อน เอเชีย และออสเตรเลีย
                   ในไทยมีประมาณ 7 ชนิด ชื่อสกุลตั้งตามนักจุลชีววิทยาชาวอังกฤษ Thomas
                   Smith ในช่วงต้น ๆ ของคริสต์ศตวรรษที่ 18 โดยการเรียงพยัญชนะใหม่

                พิศวง
                Thismia gardneriana Hook. f. ex Thwaites
                   พืชล้มลุกกินซำก สูงได้ถึง 8 ซม. ใบรูปใบหอกแกมรูปไข่ ยำว 1.5-3 มม. มี
                1-5 ดอก ใบประดับคล้ำยใบรูปลิ่มแคบ ยำวประมำณ 5 มม. หลอดกลีบสีเหลือง
                อมส้ม รูปถ้วย ยำว 0.7-1.2 ซม. กลีบรวมสีเหลือง กลีบวงนอกรูปรีเกือบกลม
                ยำว 1.5-2 มม. กลีบวงในเรียวแคบเป็นรยางค์รูปเส้นด้าย ยำว 1.4-2.2 ซม.
                                                                      พิศวงขาว: ใบคล้ำยเกล็ด หลอดกลีบดอกรูประฆัง สีขำว มีริ้ว กลีบสีเหลือง ทั้ง 6 กลีบมีรยำงค์สีขำวรูปเส้นด้ำย ผลสด
                วงสันนูนหนำ ก้ำนเกสรเพศผู้แผ่กว้ำง แกนอับเรณูแบนกว้ำงรูปสี่เหลี่ยม มีรยำงค์  รูปถ้วย (ภำพซ้ำยบนและภำพขวำ: นครศรีธรรมรำช - TP); พิศวงรยางค์: หลอดกลีบรูปคนโท สีขำว กลีบวงนอก
                คล้ำยปีก ขอบที่โคนจัก 2 พู                           ขนำดเล็ก กลีบวงในมีรยำงค์รูปเส้นด้ำย (ภำพ: เขำหำงนำค กระบี่ - NT)

                304






        59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd   304                                                                 3/1/16   6:05 PM
   319   320   321   322   323   324   325   326   327   328   329