Page 326 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 326

พุดชมพู
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                                                                       พบที่พม่ำ จีนตอนใต้ ภูมิภำคอินโดจีนและมำเลเซีย ฟิลิปปินส์ และออสเตรเลีย
                                                                     ตอนบน ในไทยพบทำงภำคเหนือ ภำคตะวันออก และภำคใต้ ขึ้นตำมสันเขำใน
                                                                     ป่ำดิบเขำ และป่ำดิบชื้น ควำมสูงถึงประมำณ 1300 เมตร ต้นที่เป็นไม้ประดับ
                                                                     ช่อดอกหนำแน่น และดอกมีขนำดใหญ่ ใบและผลแก้เจ็บคอ ต่อมทอนซิลอักเสบ
                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Li, B., A.J.M. Leeuwenberg and D.J. Middleton. (1995). Apocynaceae. In Flora
                                                                          of China Vol. 16: 162-163.
                                                                       Middleton, D.J. (1999). Apocynaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 60-64.
                                                                       ________. (2004). A revision of Kopsia (Apocynaceae: Rauvolfioideae). Harvard
                                                                          Papers in Botany 9(1): 89-142.






                  พุดจีบ: กิ่งเกลี้ยง ปลำยใบแหลมยำว มีทั้งต้นแคระ ใบด่ำง และดอกซ้อน (ภำพ: cultivated - RP)
                พุดชมพู, สกุล
                Kopsia Blume
                วงศ์ Apocynaceae
                   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น น�้ำยำงขำว ใบเรียงตรงข้ำม มีต่อมตามซอกใบ ช่อดอกแบบ
                ช่อกระจุกซ้อนหรือคล้ำยช่อกระจะ ส่วนมำกออกตำมปลำยกิ่ง ใบประดับขนำดเล็ก
                มักติดทน กลีบดอกและกลีบเลี้ยงจ�ำนวนอย่ำงละ 5 กลีบ กลีบเลี้ยงไม่มีต่อมที่โคน
                ดอกรูปดอกเข็ม เรียงซ้อนทับด้านขวาในตาดอก เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดใต้หรือสูงกว่ำ
                กึ่งกลำงหลอดกลีบดอก ไม่แนบติดกับส่วนบนของเกสรเพศเมีย ก้ำนชูอับเรณูสั้น   พุดชมพู: K. fruticosa ช่อดอกแบบช่อกระจุกซ้อน มีขนละเอียด ปลำยกลีบเลี้ยงมน ดอกสีขำวอมชมพู ปำกหลอด
                โคนอับเรณูเว้ำรูปหัวใจ จำนฐำนดอกจัก 2 พู ติดระหว่ำงคำร์เพล มี 2 คาร์เพล  มีสีเข้ม (ภำพ: cultivated - RP)
                แยกกัน ปลำยติดกันเรียวยำวเป็นก้ำนเกสรเพศเมีย แต่ละคาร์เพลมีออวุล 2 เม็ด
                ก้ำนเกสรเพศเมียรูปเส้นด้ำย ปลำยแผ่เป็นวง ผลผนังชั้นในแข็ง ออกเป็นคู่หรือ
                ออกเดี่ยว ๆ

                   สกุล Kopsia มี 23 ชนิด พบที่พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย
                   ออสเตรเลีย ในไทยมี 4 ชนิด ส่วน K. macrophylla Hook. f. ที่เคยมีรายงานว่า
                   พบในไทย พบเฉพาะที่คาบสมุทรมลายูตอนล่าง ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์
                   และนักปฐพีวิทยาชาวดัตช์ Jan Kops (1765-1849)
                                                                      พุดชมพู: K. rosea กิ่งและช่อดอกเกลี้ยง (ภำพ: cultivated - RP)
                พุดชมพู
                Kopsia fruticosa (Roxb.) A. DC.
                  ชื่อพ้อง Cerbera fruticosa Roxb.
                   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น แตกกิ่งหนำแน่น สูงได้ถึง 6 ม. มีขนละเอียดตามกิ่งอ่อน
                และช่อดอก ใบรูปรีหรือรูปขอบขนำน ยำว 5-22 ซม. ปลำยเแหลมยำว โคนมน
                หรือรูปลิ่ม ก้ำนใบยำว 0.5-1.2 ซม. ช่อดอกยำว 5-10 ซม. ก้ำนดอกยำว 2-5 มม.
                กลีบเลี้ยงรูปไข่ปลายมน ยำว 1.5-2.5 มม. ขอบมีขนอุย ดอกสีขาวอมชมพู ปาก
                หลอดกลีบมีสีเข้ม หลอดกลีบยำว 2.5-3.5 ซม. ด้ำนในมีขน กลีบดอกรูปรี ปลำยกลีบ
                กลม ยำว 1-3.3 ซม. เกสรเพศผู้ติดเหนือกึ่งกลำงหลอดกลีบดอก อับเรณูยำว
                2-2.5 มม. รังไข่มีขนหนาแน่น ก้ำนเกสรเพศเมียยำว 2-3.2 ซม. รวมยอดเกสร
                ผลรูปเคียวแกมรูปขอบขนำน ยำวประมำณ 1.7 ซม. มีเดือยหนาคล้ายตะขอ
                   มีถิ่นก�ำเนิดทำงตอนใต้ของพม่ำ ในไทยพบเฉพำะเป็นไม้ประดับในชื่อ อุนำกรรณ
                มักสับสนกับพุดชมพูอีกชนิด K. rosea D. J. Middleton ที่กิ่ง ช่อดอก และรังไข่เกลี้ยง
                                                                      พุดดง: ช่อดอกแบบช่อกระจุก กลีบเลี้ยงปลำยแหลม ปำกหลอดกลีบดอกสีชมพู ผลมักเจริญเพียงผลเดียวหรือติด
                                                                     เป็นคู่ ต้นที่เป็นไม้ประดับดอกหนำแน่นและขนำดใหญ่ (ภำพบน: ดอยตุง เชียงรำย, ภำพล่ำง: cultivated; - RP)
                พุดดง
                Kopsia arborea Blume                                 พุดตาน
                                                                     Hibiscus mutabilis L.
                   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ใบรูปรี รูปขอบขนำน หรือรูปใบหอก ยำวได้ถึง
                30 ซม. ปลายเแหลมยาวหรือยาวคล้ายหาง โคนรูปลิ่มหรือแหลม เส้นแขนงใบ  วงศ์ Malvaceae
                เรียงจรดกัน ก้ำนใบยำว 0.3-1 ซม. ช่อดอกยำว 4-15 ซม. เกลี้ยงหรือมีขนละเอียด   ไม้พุ่ม สูง 2-5 ม. มีขนรูปดาวสั้นๆ และขนคล้ายขนแกะหนาแน่นตามกิ่งอ่อน
                ก้ำนดอกยำวประมำณ 5 มม. กลีบเลี้ยงรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนำน ปลายแหลม   ก้านใบ แผ่นใบด้านล่าง ก้านดอก ริ้วประดับ และกลีบเลี้ยง หูใบรูปใบหอก ยำว
                ยำว 2-6 มม. ดอกสีขำว ปำกหลอดกลีบสีชมพู หลอดกลีบยำว 2-3.5 ซม. ด้ำนในมี  5-8 มม. ร่วงเร็ว ใบรูปไข่กว้ำงเกือบกลมหรือคล้ำยรูปหัวใจ เส้นผ่ำนศูนย์กลำง
                ขนประปรำยรอบ ๆ เกสรเพศผู้ กลีบดอกรูปรี รูปขอบขนำน หรือรูปใบหอก ยำว   10-15 ซม. จัก 5-7 พู ขอบจักมน เส้นใบรูปฝ่ามือ 5-11 เส้น ก้ำนใบยำวได้ถึง
                0.7-2 ซม. เกสรเพศผู้ติดเหนือกึ่งกลำงหลอดกลีบดอก อับเรณูยำว 1.2-1.7 มม.   20 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ หนาแน่นช่วงใกล้ปลายกิ่งคล้ายเป็นช่อ
                คาร์เพลมีขนด้านบน ก้ำนเกสรเพศเมียยำว 2-2.5 ซม. รวมยอดเกสร ผลออกเป็นคู่  ก้ำนดอกยำว 5-8 ซม. มีข้อใกล้ปลำยก้ำน ริ้วประดับรูปเส้นด้าย ส่วนมากมี 8 อัน
                แต่มักเจริญเพียงผลเดียว รูปรี เบี้ยว ยำว 1.5-4 ซม. สุกสีด�ำอมน�้ำเงิน  ยำว 1-1.6 ซม. โคนเชื่อมติดกัน กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยำว 2.5-3 ซม. ดอกสีขาว ชมพู

                306






        59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd   306                                                                 3/1/16   6:06 PM
   321   322   323   324   325   326   327   328   329   330   331