Page 321 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 321
พันงู สารานุกรมพืชในประเทศไทย พันจ�า
Achyranthes aspera L.
วงศ์ Amaranthaceae
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 1 ม. กิ่งเป็นเหลี่ยมมน มีขนสั้นนุ่มตำมกิ่งอ่อน แผ่นใบ และ
ช่อดอก ใบเรียงตรงข้าม รูปรี รูปขอบขนำน หรือรูปไข่กลับ ยำว 2-10 ซม. ปลำยกลม
แหลม หรือแหลมยำว โคนเรียวสอบ แผ่นใบบำงครั้งเกือบเกลี้ยง ก้ำนใบยำว
0.5-1.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ออกที่ปลายกิ่ง ยำวได้ถึง 50 ซม. แกนช่อ
เป็นเหลี่ยม ดอกออกเดี่ยว ๆ บนแกนช่อ ใบประดับแห้งบาง ติดทน รูปไข่ ปลำย
เรียวแหลม ยำว 2-3 มม. ใบประดับย่อย 2 อัน แนบติดกลีบรวมคล้ายหนาม พันงูเขียว: ใบเรียงตรงข้ำมสลับตั้งฉำก ขอบจักฟันเลื่อย ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ดอกสีม่วงอมน�้ำเงิน รูปดอกเข็ม
ยำว 3-4 มม. โคนมีเยื่อบำง ๆ กลีบรวม 4-5 กลีบ รูปใบหอกแกมรูปไข่ ยำวประมำณ ปำกหลอดมีขนยำว (ภำพ: กรุงเทพฯ - RP)
5 มม. เกสรเพศผู้มี 2-5 อัน แผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 5 อัน มีเกล็ด ขอบจักชายครุย
รังไข่เกลี้ยง มีออวุล 1 เม็ด ก้ำนเกสรเพศเมียยำว 2-3.5 มม. ผลแบบกระเปาะ พันจำา, สกุล
ปลำยตัด เปลือกบำง ยำว 2.5-3 มม. เมล็ดรูปทรงกระบอก Vatica L.
ขึ้นเป็นวัชพืชทั่วไปในเขตร้อน ควำมสูงถึงประมำณ 700 เมตร มีควำมผันแปรสูง วงศ์ Dipterocarpaceae
แยกเป็นหลำย varieties มีสรรพคุณด้ำนสมุนไพรหลำยอย่ำง ไม้ต้น เปลือกเรียบแตกเป็นสะเก็ด มีชันสีขำวหรืออมเหลือง หูใบขนำดเล็ก
ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ใบประดับขนำดเล็ก กลีบเลี้ยง
สกุล Achyranthes L. มีประมาณ 10 ชนิด ส่วนใหญ่พบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน 5 กลีบ เรียงจรดกัน กลีบคู่ในเรียวแคบกว่ำเล็กน้อย กลีบดอกบิดเวียน มี 5 กลีบ
ในไทยมี 3 ชนิด เป็นพืชถิ่นเดียวหน่ึงชนิด คือ A. ancistrophora C. C. Towns. เกสรเพศผู้มี 15 อัน เรียง 3 วง วงในยำวกว่ำวงนอก ก้ำนชูอับเรณูสั้น โคนแผ่กว้าง
ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “achyron” เกล็ดบาง และ “anthos” ดอก หมายถึง อับเรณูมี 4 ช่อง คู่ในสั้นกว่าคู่นอก แกนอับเรณูยื่นเลยอับเรณูเล็กน้อย ไม่มี
ลักษณะดอกที่โคนใบประดับมีเยื่อบางคล้ายเกล็ด ฐานยอดเกสรเพศเมีย ยอดเกสรเพศเมียจัก 3 พู ผลเปลือกแข็งเมล็ดเดียว ปลำยผล
เอกสารอ้างอิง มีติ่งแหลม กลีบเลี้ยงขยายเป็นปีกยาว 2 ปีก ปีกสั้น 3 ปีก หรือขยายเล็กน้อย
Larsen, K. (1992). Amaranthaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(4): 395. ไม่ยาวเป็นปีกทั้ง 5 กลีบ
สกุล Vatica อยู่ภายใต้เผ่า Dipterocarpeae ที่โคนกลีบเลี้ยงในผลเรียงจรดกัน
แยกเป็นกลุ่มที่กลีบเลี้ยงไม่ขยายเป็นปีก (sect. Vatica) และกลุ่มที่กลีบเลี้ยงขยาย
เป็นปีกยาว 2 ปีก ปีกสั้น 3 ปีก (sect. Sunaptea) มีประมาณ 70 ชนิด ในไทยมี
ประมาณ 15 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษาละติน “vates” ผู้ทำานายหรือศาสดา
พันจำา
Vatica odorata (Griff.) Symington
ชื่อพ้อง Sunaptea odorata Griff.
ไม้ต้น สูงได้ถึง 25 ม. เปลือกสีน�้ำตำลเทำ กิ่งมีขนรูปดาวสั้นนุ่มสีน�้าตาลแดงหรือ
เกือบเกลี้ยง หูใบรูปขอบขนำน ยำวประมำณ 4 มม. ใบรูปรี รูปขอบขนำน หรือแกม
รูปไข่หรือรูปไข่กลับ ยำว 5.5-12 ซม. มีเส้นแขนงใบแซม ก้ำนใบยำว 0.7-2 ซม.
ช่อดอกยำว 2-8 มม. ช่อแขนงย่อยมี 2-5 ดอก ตำดอกรูปใบหอก ยำว 0.7-1 ซม.
กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยำวประมำณ 4 มม. ด้ำนนอกมีขนสั้นนุ่ม ดอกสีขำวมีปื้นชมพู
พันงู: ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ออกที่ปลำยกิ่ง ใบประดับแห้งบำง ติดทน ใบประดับย่อย 2 อัน แนบติดกลีบรวม กลีบรูปใบหอกกลับ ปลำยมน ยำว 0.9-1.2 ซม. เกสรเพศผู้ยำวประมำณ 1.5 มม.
คล้ำยหนำม ผลรูปกระเปำะ ใบประดับติดทน (ภำพดอก: ประจวบคีรีขันธ์, ภำพผล: เพชรบุรี; - RP) แกนอับเรณูเป็นติ่ง ยาวเท่า ๆ อับเรณู รังไข่มีขนสั้นนุ่ม ก้ำนเกสรเพศเมียยำวเท่ำ ๆ
พันงูเขียว รังไข่ ผลเส้นผ่ำนศูนย์กลำงประมำณ 5 มม. ปลำยเป็นติ่งแหลม ก้ำนยำว 2-3 มม.
ปีกยาว 2 ปีก ส่วนมากยาว 4-6 ซม. ปีกสั้น 3 ปีก ยาว 0.7-2 ซม.
Stachytarpheta jamaicensis (L.) Vahl พบที่พม่ำ ภูมิภำคอินโดจีน คำบสมุทรมลำยู และบอร์เนียว ในไทยพบทุกภำค
วงศ์ Verbenaceae ขึ้นตำมป่ำดิบแล้ง และป่ำดิบชื้น ควำมสูงถึงประมำณ 600 เมตร มีควำมผันแปรสูง
ชื่อพ้อง Verbena jamaicensis L. และยังมีควำมสับสนระหว่ำง V. odorata (Griff.) Symington, V. harmandiana
ไม้ล้มลุก อำจสูงได้ถึง 2 ม. ใบเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก รูปไข่ ยำว 3-10 ซม. Pierre และ V. cinerea King ที่ข้อมูลส่วนใหญ่ให้เป็นชื่อพ้องของ V. harmandiana
โคนเรียวสอบเป็นก้านใบ ขอบจักฟันเลื่อย ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ออกที่ปลำยกิ่ง Pierre และควรศึกษำเพื่อจัดจ�ำแนกใหม่ ซึ่งกำรศึกษำในเบื้องต้นอำจยุบรวมเป็น
ยำวได้ถึง 50 ซม. ใบประดับบาง รูปไข่ ยำวประมำณ 5 มม. ปลำยเรียวแหลม V. odorata ทั้งหมด (sensu lato) แล้วแยกเป็นชนิดย่อย (subspecies) ตำม
กลีบเลี้ยงบำง ยำวประมำณ 6 มม. ปลำยแยกเป็น 4 กลีบขนำดเล็ก ดอกรูปดอกเข็ม เขตกำรกระจำยพันธุ์ ได้แก่ ชนิดย่อยทำงภำคใต้ของไทยและคำบสมุทรมลำยู
สีม่วงอมน�้าเงิน หลอดกลีบยำวประมำณ 8 มม. ปากหลอดมีขนยาว มี 5 กลีบ ชนิดย่อยทำงภำคตะวันออกเฉียงใต้ของไทยรวมกัมพูชำ เวียดนำม และชนิดย่อย
รูปกลม ยำวเท่ำ ๆ หลอดกลีบ เกสรเพศผู้ 2 อัน ลดรูป 2 อัน ติดใกล้จุดกึ่งกลำง ทำงภำคตะวันออกและภำคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของไทยรวมลำว ซึ่งมี
หลอดกลีบ ก้ำนชูอับเรณูสั้น ก้ำนเกสรเพศเมียยำวประมำณ 6 มม. ผลแห้งแยก ข้อมูลด้ำนกำยวิภำคของใบสนับสนุนชัดเจน
เป็น 2 ซีก มีกลีบเลี้ยงหุ้ม แต่ละซีกมีเม็ดเดียว
เอกสารอ้างอิง
มีถิ่นก�ำเนิดในอเมริกำเขตร้อน ขึ้นเป็นวัชพืชทั่วไปในเขตร้อน มีสรรพคุณแก้ Ashton, P.S. (1982). Dipterocarpaceae. In Flora Malesiana Vol. 9: 345-370.
กำรอักเสบ ควำมดัน หอบหืด แผลเรื้อรัง Pooma, R. (2002). Further notes on Thai Dipterocarpaceae. Thai Forest Bulletin
(Botany) 30: 14.
สกุล Stachytarpheta Vahl มีประมาณ 95 ชนิด ส่วนใหญ่พบในอเมริกาเขตร้อน Pooma, R. and M. Newman. (2001). Checklist of Dipterocarpaceae in Thailand.
ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “stachys” ช่อดอกแบบช่อเชิงลด Thai Forest Bulletin (Botany) 29: 178-185.
และ “tarphys” แน่น ตามลักษณะของช่อดอกแบบช่อเชิงลดมีดอกหนาแน่น Smitinand, T., J.E. Vidal and P.H. Hô. (1990). Dipterocarpaceae. Flore du
Cambodge, du Laos et du Vietnam. 25: 45-62.
เอกสารอ้างอิง Srinual, A. (2009). Comparative anatomy of the family Dipterocarpaceae in
Atkins, S. (2010). Verbenaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(2): 262-263. Thailand. Thesis PhD., Khonkaen University. Thailand.
301
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 301 3/1/16 6:05 PM