Page 318 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 318

พวงทองเถา
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                   สกุล Galphimia Cav. มี 26 ชนิด ส่วนมากพบในอเมริกาใต้และเม็กซิโก   ใบคู่ข้างเบี้ยวเล็กน้อย เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น ปลำยมีติ่งแหลม โคนกลม ก้ำนใบ
                   พวงทองต้น เป็นชนิดเดียวที่เป็นไม้ประดับ ชื่อสกุลเป็นชื่อที่ผสมขึ้นโดยเอา  ย่อยยำว 2-5 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ยำว 3-7 ซม. แยกแขนงสั้น ๆ แต่ละ
                   อักษรในคำามาสลับกันใหม่จากชื่อสกุล Malpighia      ช่อย่อยมี 2-5 ดอก ใบประดับรูปรี เรียงซ้อนเหลื่อม ไม่มีใบประดับย่อย ก้ำนดอกยำว
                                                                     2-4 มม. กลีบเลี้ยงเป็นหลอด ยำว 6-8 มม. ปลายแยก 5 แฉก รูปสามเหลี่ยม
                  เอกสารอ้างอิง
                   Anderson, C. (2007). Revision of Galphimia (Malpighiaceae). Contributions from   ขนาดไม่เท่ากัน ปลายแหลมยาว ดอกสีม่วง ยำว 1.5-2 ซม. มีก้ำนกลีบ กลีบกลำง
                      the University of Michigan Herbarium 25: 12-15.  รูปไข่กลับ กลีบปีกรูปรี โคนเป็นติ่ง กลีบคู่ล่ำงคล้ำยกลีบปีก รังไข่มีก้าน มีแผ่น
                   Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum   คล้ายจานฐานดอกที่โคน เกสรเพศเมียเกลี้ยง ยอดเกสรเป็นตุ่ม ฝักมี 2 แบบ
                      Press, Honolulu, Hawai`i.                      ฝักบนต้นรูปรี แบนเล็กน้อย ยาว 2-3 ซม. ปลายมีจะงอย มี 1-3 เมล็ด รูปคล้ำยไต
                                                                     ยำวประมำณ 5 มม. ฝักใต้ดินรูปกลม ๆ มีเมล็ดเดียว
                                                                       พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ พม่ำ และภำคเหนือของไทยที่ดอยอินทนนท์ จังหวัด
                                                                     เชียงใหม่ ขึ้นตำมชำยป่ำดิบเขำ ควำมสูง 1800-2200 เมตร เข้ำใจว่ำเป็น var.
                                                                     bracteosa (Prain) H. Ohashi & Tateishi
                                                                       สกุล Amphicarpaea Elliott ex Nutt. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Faboideae เผ่า Phaseoleae
                                                                     มีประมาณ 5 ชนิด พบในอเมริกาเหนือ แอฟริกา และเอเชีย ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก
                                                                     “amphi” ทั้งสองด้าน และ “karpos” ผล หมายถึงลักษณะของผลที่มี 2 แบบ
                                                                      เอกสารอ้างอิง
                  พวงทองต้น: ใบเรียงตรงข้ำม ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกที่ปลำยกิ่ง กลีบดอกไม่เท่ำกัน เกสรเพศผู้ 10 อัน ก้ำน  Sa, R. and M.G. Gilbert. (2010). Fabaceae. In Flora of China Vol. 10: 249.
                เกสรเพศเมีย 3 อัน ติดทน (ภำพ: cultivated - RP)
                พวงทองเถา
                Callaeum septentrionale (A. Juss.) D. M. Johnson
                วงศ์ Malpighiaceae
                  ชื่อพ้อง Hiraea septentrionalis A. Juss.
                   ไม้พุ่มรอเลื้อย มักมีขนคล้ำยไหมตำมกิ่งอ่อน แผ่นใบด้ำนล่ำง กลีบเลี้ยงและ
                กลีบดอกด้ำนนอก ใบเรียงตรงข้าม รูปไข่ รูปขอบขนำน หรือรูปใบหอก ยำว 2-9 ซม.
                โคนมักมีต่อมข้างละ 1-3 ต่อม ก้ำนใบยำว 0.2-1 ซม. หูใบร่วมขนำดเล็ก ช่อดอก
                แบบช่อกระจะหรือแยกแขนงแบบช่อซี่ร่ม ใบประดับขนำดเล็ก ก้ำนช่อยำวได้ถึง   พวงระย้า: ใบประกอบมี 3 ใบย่อย เส้นโคนใบข้ำงละ 1 เส้น ช่อดอกแบบช่อกระจะ กลีบเลี้ยงเป็นหลอด ดอกสีม่วง
                1 ซม. ก้ำนดอกยำว 0.6-2.4 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสำมเหลี่ยมขนำดเล็ก 4 กลีบ  ใบประดับเรียงซ้อนเหลื่อม (ภำพ: ดอยอินทนนท์ เชียงใหม่ - RP)
                ที่โคนมีต่อมคู่ ขนำดประมำณ 1.2 มม. ดอกสีเหลือง มี 5 กลีบ รูปไข่กลับ มีหนึ่งกลีบ
                ขนาดเล็กกว่ากลีบอื่นเล็กน้อย ยำว 0.9-1.5 ซม. ขอบจักชายครุย มีก้านกลีบ   พวงแสด
                เกสรเพศผู้ 10 อัน โคนเชื่อมติดกัน อับเรณูขนาดไม่เท่ากัน ปลำยมีรยำงค์ รังไข่  Pyrostegia venusta (Ker Gawl.) Miers
                มีขนคล้ำยไหม ก้ำนเกสรเพศเมีย 3 อัน ยำวประมำณ 2 มม. ผลแยกเป็น 3 ซีก   วงศ์ Bignoniaceae
                ยำว 5-6 มม. ปีกคู่ข้ำงยำว 2-5.5 ซม. กว้ำง 1.5-2 ซม. ปีกหลังยำว 1-1.5 ซม.   ชื่อพ้อง Bignonia venusta Ker Gawl.
                กว้ำงประมำณ 6 มม. ด้านนอกมีขนคล้ายไหม แต่ละซีกมีเมล็ดเดียว  ไม้เถำยำวได้ถึง 15 ม. กิ่งเป็นเหลี่ยมเล็กน้อย ใบประกอบเรียงตรงข้าม มี 2-3
                   มีถิ่นก�ำเนิดในเม็กซิโก เป็นไม้ประดับ             ใบย่อย ส่วนมากใบปลายเปลี่ยนรูปเป็นมือจับปลายแยก 3 ส่วน ใบย่อยรูปไข่
                                                                     ยำว 5-8 ซม. ปลำยแหลมยำว ก้ำนใบยำว 1-2 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง
                   สกุล Callaeum Small มี 10 ชนิด พบเฉพาะในอเมริกาเขตร้อน ชื่อสกุลมาจาก  ดอกจ�ำนวนมำก กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายตัดหรือจักตื้น ๆ 5 แฉก
                   ภาษากรีก “kallos” สวยงาม หรือ “kallaion” หงอนไก่ ตามลักษณะของผล
                                                                     ไม่ชัดเจน ขอบมีขนครุย ดอกรูปหลอด สีส้ม ขอบกลีบสีขาว หลอดกลีบดอกยำว
                  เอกสารอ้างอิง                                      4-6 ซม. กลีบรูปขอบขนาน กลีบบน 2 กลีบ ยาวได้ถึง 1 ซม. กลีบล่าง 3 กลีบ
                   Johnson, D.M. (1986). Revision of the neotropical genus Callaeum (Malpighiaceae).   พับงอกลับ ยาวกว่ากลีบบนเล็กน้อย เกสรเพศผู้ 4 อัน ยื่นพ้นปำกหลอดกลีบ
                      Systematic Botany 11: 343-344.                 เล็กน้อย รังไข่มี 4 สัน มี 2 ช่อง ยอดเกสรเพศเมียจัก 2 พู ผลแห้งแตก รูปแถบ แบน
                                                                     เมล็ดบำง มีปีกทั้งสองข้ำง
                                                                       มีถิ่นก�ำเนิดในอเมริกำใต้ เป็นไม้ประดับเป็นซุ้มหรือรั้วทั่วไปในเขตร้อน ใบมี
                                                                     สรรพคุณแก้โรคผิวหนัง และแผลสด
                                                                       สกุล Pyrostegia C. Presl มี 2 ชนิด พบเฉพาะในอเมริกาใต้ ชื่อสกุลมาจาก
                                                                       ภาษากรีก “pyr” ไฟ และ “stege” หรือ “stegos” หลังคาหรือซุ้ม หมายถึง
                                                                       ลักษณะไม้เลื้อยดอกสีส้มคล้ายไฟเป็นซุ้มหนาแน่น

                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum
                  พวงทองเถา: ใบเรียงตรงข้ำม กลีบดอก 5 กลีบ มีหนึ่งกลีบขนำดเล็กกว่ำกลีบอื่นเล็กน้อย ผลแยกเป็น 3 ซีก มี 3 ปีก   Press, Honolulu, Hawai`i.
                ปีกคู่ข้ำงขนำดใหญ่กว่ำปีกหลัง (ภำพ: cultivated - RP)
                พวงระย้า
                Amphicarpaea ferruginea Benth.
                วงศ์ Fabaceae
                   ไม้ล้มลุกเถำ มีขนยาวสีน�้าตาลแดงตามกิ่ง แผ่นใบ ก้านใบ ช่อดอก ใบประดับ
                กลีบเลี้ยง และผล หูใบรูปไข่ ยำว 6-8 มม. ใบประกอบมี 3 ใบย่อย ก้ำนใบยำว
                ได้ถึง 10 ซม. หูใบย่อยรูปแถบ ยำว 2-5 มม. ใบย่อยรูปรีหรือรูปไข่ ยำว 2-8 ซม.   พวงแสด: ไม้ประดับเป็นซุ้มหนำแน่น กลีบดอกกลีบบน 2 กลีบ กลีบล่ำง 3 กลีบ (ภำพ: cultivated - RM)

                298






        59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd   298                                                                 3/1/16   6:04 PM
   313   314   315   316   317   318   319   320   321   322   323